ฝัง
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]- (เลิกใช้) ฝงง
รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *faŋᴬ¹; ร่วมเชื้อสายกับอีสาน ฝัง, ลาว ຝັງ (ฝัง), คำเมือง ᨺᩢ᩠ᨦ (ฝัง), เขิน ᨺᩢ᩠ᨦ (ฝัง), ไทลื้อ ᦚᧂ (ฝัง), ไทดำ ꪠꪰꪉ (ฝัง), ไทใหญ่ ၽင် (ผัง) หรือ ၾင် (ฝัง), ไทใต้คง ᥜᥒᥴ (ฝั๋ง), อาหม 𑜇𑜞𑜂𑜫 (ผฺรง์), จ้วง baeng, จ้วงแบบจั่วเจียง paeng
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ฝัง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | fǎng |
ราชบัณฑิตยสภา | fang | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /faŋ˩˩˦/(สัมผัส) |
คำกริยา
[แก้ไข]ฝัง (คำอาการนาม การฝัง)
- (สกรรม) จมหรือทำให้จมลงไปจากระดับพื้นจนมิดทั้งหมดหรือมิดแต่บางส่วน
- ฝังศพ
- ฝังทรัพย์
- ฝังเสา
- (สกรรม)ทำให้จมติดแน่นอยู่ในสิ่งต่าง ๆ
- ฝังเพชร
- ฝังลาย
- (ในเชิงเปรียบเทียบ, สกรรม) ลักษณะอาการคล้ายคลึงเช่นนั้น
- ฝังใจ
- ฝังหัว
ลูกคำ
[แก้ไข]คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]จมหรือทำให้จมจากพื้น
ภาษาคำเมือง
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /faŋ˨˦/
คำกริยา
[แก้ไข]หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- สัมผัส:ภาษาไทย/aŋ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำกริยาภาษาไทย
- คำสกรรมกริยาภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- รายการที่มีกล่องคำแปล
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาดัตช์/t+
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาสเปน/t+
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำกริยาภาษาคำเมือง
- คำกริยาภาษาคำเมืองในอักษรไทย
- คำสกรรมกริยาภาษาคำเมือง