ข้ามไปเนื้อหา

สรุปเหรียญโอลิมปิกฤดูร้อน 2016

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
แผนที่โลกแสดงการได้รับเหรียญของแต่ละประเทศระหว่างโอลิมปิกฤดูร้อน 2016
สัญลักษณ์:
      สีทอง หมายถึง ประเทศนั้นได้อย่างน้อยหนึ่งเหรียญทอง
      สีเงิน หมายถึง ประเทศนั้นได้อย่างน้อยหนึ่งเหรียญเงิน
      สีทองแดง หมายถึง ประเทศนั้นได้อย่างน้อยหนึ่งเหรียญทองแดง
      สีน้ำเงิน หมายถึง ประเทศนั้นไม่ได้เหรียญใดๆ
      สีแดง หมายถึง ประเทศนั้นไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2016
โอลิมปิกฤดูร้อน 2016
IOC · COB · ROCOG

สรุปเหรียญโอลิมปิกฤดูร้อน 2016 เป็นรายชื่อของคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติจัดอันดับตามจำนวนเหรียญที่ได้รับระหว่างโอลิมปิกฤดูร้อน 2016 ในรีโอเดจาเนโร ประเทศบราซิล ตั้งแต่วันที่ 5 สิงหาคม – 21 สิงหาคม ค.ศ. 2016

ประเทศเวียดนาม, ประเทศคอซอวอ, ประเทศฟีจี, ประเทศสิงคโปร์และปวยร์โตรีโก ได้รับเหรียญทองในโอลิมปิกเป็นครั้งแรก โดยที่ประเทศคอซอวอ และประเทศฟีจีได้รับเหรียญโอลิมปิกเป็นครั้งแรก[1][2][3][4][5][6]

ตารางสรุปเหรียญ

[แก้]

ด้านล่างนี้เป็นตารางสรุปเหรียญโอลิมปิกฤดูร้อน 2016 ตามการนับเหรียญของคณะกรรมการโอลิมปิกสากล อันดับเหล่านี้เรียงตามจำนวนเหรียญทองที่คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติได้รับ จำนวนเหรียญเงินจะถูกพิจารณาเป็นลำดับถัดไป และสุดท้ายเป็นจำนวนเหรียญทองแดง หากเท่ากันทั้งเหรียญทอง เงินและทองแดง จะมีการให้อันดับเท่ากันและจะลงรายการตามตัวอักษรตามรหัสประเทศคณะกรรมการโอลิมปิกสากล แม้คณะกรรมการโอลิมปิกสากลจะให้สารสนเทศข้างต้นนี้ แต่คณะกรรมการฯ เองไม่ได้รับรองหรืออนุมัติระบบจัดอันดับใด ๆ[7]

  • ในกีฬามวยสากล (13 ประเภท) ยูโด (14) เทควันโด (8) และมวยปล้ำ (18) จะมีการมอบเหรียญทองแดงให้สองเหรียญในแต่ละขั้นน้ำหนัก (รวมเหรียญทองแดงเพิ่มเติม 53 เหรียญ)

  *  บราซิล

2016 Summer Olympics medal table[8][A]
ลำดับที่NOCทองเงินทองแดงรวม
1 สหรัฐ463738121
2 สหราชอาณาจักร27231767
3 จีน26182670
4 รัสเซีย19172056
5 เยอรมนี17101542
6 ญี่ปุ่น1282141
7 ฝรั่งเศส10181442
8 เกาหลีใต้93921
9 อิตาลี812828
10 ออสเตรเลีย8111029
11 เนเธอร์แลนด์87419
12 ฮังการี83415
13 บราซิล*76619
14 สเปน74617
15 เคนยา66113
16 จาเมกา63211
17 โครเอเชีย53210
18 คิวบา52411
19 นิวซีแลนด์49518
20 แคนาดา431522
21 อุซเบกิสถาน42713
22 โคลอมเบีย3238
23 สวิตเซอร์แลนด์3227
24 อิหร่าน3148
25 กรีซ3126
26 อาร์เจนตินา3104
27 เดนมาร์ก26715
28 สวีเดน26311
29 แอฟริกาใต้26210
30 คาซัคสถาน251017
31 ยูเครน25411
32 เซอร์เบีย2428
33 โปแลนด์23611
34 เกาหลีเหนือ2327
35 ไทย2226
เบลเยียม2226
37 สโลวาเกีย2204
38 จอร์เจีย2147
39 อาเซอร์ไบจาน171018
40 เบลารุส1449
41 ตุรกี1348
42 อาร์มีเนีย1304
43 เช็กเกีย12710
44 เอธิโอเปีย1258
45 สโลวีเนีย1214
46 อินโดนีเซีย1203
47 โรมาเนีย1124
48 เวียดนาม1102
บาห์เรน1102
50 จีนไทเป1023
51 บาฮามาส1012
โกตดิวัวร์1012
นักกีฬาอิสระ[B]1012
54 ปวยร์โตรีโก1001
ฟีจี1001
ทาจิกิสถาน1001
จอร์แดน1001
สิงคโปร์1001
คอซอวอ1001
60 มาเลเซีย0415
61 เม็กซิโก0325
62 เวเนซุเอลา0213
63 แอลจีเรีย0202
ไอร์แลนด์0202
65 ลิทัวเนีย0134
66 บัลแกเรีย0123
67 อินเดีย0112
มองโกเลีย0112
69 บุรุนดี0101
ไนเจอร์0101
กรีเนดา0101
กาตาร์0101
ฟิลิปปินส์0101
74 นอร์เวย์0044
75 อียิปต์0033
ตูนิเซีย0033
77 อิสราเอล0022
78 โมร็อกโก0011
เอสโตเนีย0011
โปรตุเกส0011
ตรินิแดดและโตเบโก0011
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์0011
สาธารณรัฐโดมินิกัน0011
ฟินแลนด์0011
ออสเตรีย0011
ไนจีเรีย0011
รวม (86 NOC)306307359972

อ้างอิง

[แก้]
  1. "2016 Rio Olympics Medals Tally". 7 August 2016. สืบค้นเมื่อ 7 August 2016.
  2. "Rio Olympics 2016: Vietnam win first ever Games gold". BBC.com. 6 August 2016. สืบค้นเมื่อ 7 August 2016.
  3. "Majlinda Kelmendi wins gold for Kosovo's historic first Olympic medal". CNN.com. 7 August 2016. สืบค้นเมื่อ 7 August 2016.
  4. "Fiji wins rugby sevens for nation's first Olympic gold". usatoday.com. 11 August 2016. สืบค้นเมื่อ 12 August 2016.
  5. "Olympics: Joseph Schooling's coronation complete as he wins Singapore's first gold". Straits Times. สืบค้นเมื่อ 13 August 2016.
  6. "Rio Olympics 2016: Monica Puig wins Puerto Rico's first ever gold medal". BBC.com. 13 August 2016. สืบค้นเมื่อ 13 August 2016.
  7. Shipley, Amy (25 August 2008). "China's Show of Power". The Washington Post. สืบค้นเมื่อ 28 August 2011.
  8. "Rio 2016 Olympic Medal Table – Gold, Silver & Bronze". International Olympic Committee. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 July 2024. สืบค้นเมื่อ 7 August 2024.
  9. Sherman, Rodger (10 August 2016). "A Kuwaiti won gold, but the Olympic anthem played". SB Nation (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 November 2022. สืบค้นเมื่อ 30 July 2024.
  10. "IOC suspends Kuwait's national Olympic committee". USA Today. Associated Press. 26 October 2015. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 July 2024. สืบค้นเมื่อ 30 July 2024.
  11. Allen, Scott (27 November 2021). "The IOC banned his country, then raised its own flag after Kuwaiti wins gold". The Washington Post (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 June 2021. สืบค้นเมื่อ 30 July 2024.
  12. Treacy, Dan (26 July 2024). "Who are independent Olympic athletes? Meet the group competing under the AIN flag at 2024 Summer Olympics". The Sporting News (ภาษาอังกฤษแบบแคนาดา). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 July 2024. สืบค้นเมื่อ 30 July 2024.
  1. Figures in table reflect all official changes in medal standings.
  2. The Independent Olympic Athletes team was composed of nine Kuwaiti athletes competing under the Olympic flag, as the Kuwait Olympic Committee had been suspended by the IOC due to political interference.[9][10][11] While the Refugee Olympic Team also competed under the Olympic flag, they were not considered independent.[12]

ดูเพิ่ม

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]