กำมะถัน
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]ธาตุเคมี | |
---|---|
S | |
ก่อนหน้า: ฟอสฟอรัส (P) | |
ถัดไป: คลอรีน (Cl) |
รากศัพท์
[แก้ไข]เทียบทมิฬ கந்தகம் (กนฺตกมฺ), สิงหล ගෙන්දගම් (เค็นฺทคมฺ) ทั้งหมดมาจากสันสกฤต गन्धक (คนฺธก), จาก गन्ध (คนฺธ) ซึ่งเป็นรากศัพท์ของไทย คันธะ
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | กำ-มะ-ถัน | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | gam-má-tǎn |
ราชบัณฑิตยสภา | kam-ma-than | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /kam˧.ma˦˥.tʰan˩˩˦/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]กำมะถัน
- ธาตุสีเหลือง ติดไฟง่าย กลิ่นเหม็นฉุน ใช้ทำยา ทำดินปืน ฯลฯ, สุพรรณถัน ก็ว่า
- (ธาตุเคมี) ธาตุลำดับที่ 16 สัญลักษณ์ S เป็นอโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง มีอัญรูปหลายแบบ ใช้ประโยชน์ได้มากมาย เช่น ในอุตสาหกรรมทำกรดซัลฟิวริก อุตสาหกรรมยาง ทำหัวไม้ขีดไฟ ดินปืน ดอกไม้เพลิง และยารักษาโรค, ยาประเภทซัลฟาและประเภทเพนิซิลลินก็มีธาตุกำมะถันเป็นองค์ประกอบด้วย
คำพ้องความ
[แก้ไข]ลูกคำ
[แก้ไข]คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]ธาตุเคมีลำดับที่ 16
|
หมวดหมู่:
- th:ธาตุเคมี
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาสันสกฤต
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาสันสกฤต/m
- สัมผัส:ภาษาไทย/an
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 3 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาไทย/l
- รายการที่มีกล่องคำแปล
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาเกาหลี/t+
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาเกาหลี/t
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาเขมร/t+
- จีนกลาง terms with redundant transliterations
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาดัตช์/t+
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาไทดำ
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาไทดำ/t+
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาไทลื้อ/t+
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาโปรตุเกส/t+
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาฝรั่งเศส/t+
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษามาเลเซีย/t
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาเยอรมัน/t+
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาเยอรมัน/t
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาเวียดนาม/t+
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาสเปน/t+
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาอิตาลี/t+
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาอินโดนีเซีย/t+
- th:กำมะถัน