ข้ามไปเนื้อหา

ว่าที่ประธานาธิบดีสหรัฐ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ว่าที่ประธานาธิบดี
สหรัฐ
ผู้ดำรงตำแหน่งคนปัจจุบัน
ดอนัลด์ ทรัมป์
ตั้งแต่ 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 2024
วาระช่วงเวลาตั้งแต่ การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐ จนถึงวันที่ 20 มกราคม
ผู้ประเดิมตำแหน่งจอร์จ วอชิงตัน
6 เมษายน ค.ศ. 1789[1]
เว็บไซต์www.greatagain.gov

ว่าที่ประธานาธิบดีสหรัฐ (อังกฤษ: President-elect of the United States) คือตำแหน่งของผู้ที่ชนะการเลือกตั้งและเตรียมที่จะเข้ารับตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐ ในวันที่ 20 มกราคม

รายนามว่าที่ประธานาธิบดีสหรัฐ

[แก้]

      ไม่สังกัดพรรคการเมือง      พรรคเฟเดรัลลิสต์      พรรคเดโมแครต-ริพับลิกัน
      พรรคเดโมแครต      พรรควิก      พรรคริพับลิกัน

ว่าที่ประธานาธิบดี พรรค ตั้งแต่วันที่ ถึงวันที่
1 จอร์จ วอชิงตัน   ไม่สังกัดพรรคการเมือง 6 เมษายน ค.ศ. 1789[2] 30 เมษายน ค.ศ. 1789
2 จอห์น แอดัมส์   พรรคเฟเดรัลลิสต์ ธันวาคม ค.ศ. 1796 4 มีนาคม ค.ศ. 1797
3 ทอมัส เจฟเฟอร์สัน   พรรคเดโมแครต-ริพับลิกัน 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1801[3] 4 มีนาคม ค.ศ. 1801
4 เจมส์ แมดิสัน   พรรคเดโมแครต-ริพับลิกัน ธันวาคม ค.ศ. 1808 4 มีนาคม ค.ศ. 1809
5 เจมส์ มอนโร   พรรคเดโมแครต-ริพับลิกัน ธันวาคม ค.ศ. 1816 4 มีนาคม ค.ศ. 1817
6 จอห์น ควินซี แอดัมส์   พรรคเดโมแครต-ริพับลิกัน 9 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1825[3] 4 มีนาคม ค.ศ. 1825
7 แอนดรูว์ แจ็คสัน   พรรคเดโมแครต 3 ธันวาคม ค.ศ. 1828 4 มีนาคม ค.ศ. 1829
8 มาร์ติน แวน บิวเรน   พรรคเดโมแครต 7 ธันวาคม ค.ศ. 1836 4 มีนาคม ค.ศ. 1837
9 วิลเลียม เฮนรี แฮร์ริสัน   พรรควิก 2 ธันวาคม ค.ศ. 1840 4 มีนาคม ค.ศ. 1841
10 เจมส์ เค. โพล์ก   พรรคเดโมแครต 4 ธันวาคม ค.ศ. 1844 4 มีนาคม ค.ศ. 1845
11 แซคารี เทย์เลอร์   พรรควิก 7 พฤศจิกายน ค.ศ. 1848 4 มีนาคม ค.ศ. 1849[4]
12 แฟรงกลิน เพียร์ซ   พรรคเดโมแครต 2 พฤศจิกายน ค.ศ. 1852 4 มีนาคม ค.ศ. 1853
13 เจมส์ บูแคนัน   พรรคเดโมแครต 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1856 4 มีนาคม ค.ศ. 1857
14 อับราฮัม ลินคอล์น   พรรคริพับลิกัน 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 1860 4 มีนาคม ค.ศ. 1861
15 ยูลิสซีส เอส. แกรนต์   พรรคริพับลิกัน 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1868 4 มีนาคม ค.ศ. 1869
16 รัทเทอร์ฟอร์ด บี. เฮส์   พรรคริพับลิกัน 2 มีนาคม ค.ศ. 1877[5] 4 มีนาคม ค.ศ. 1877[6]
17 เจมส์ เอ. การ์ฟีลด์   พรรคริพับลิกัน 2 พฤศจิกายน ค.ศ. 1880 4 มีนาคม ค.ศ. 1881
18 โกรเวอร์ คลีฟแลนด์   พรรคเดโมแครต 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1884 4 มีนาคม ค.ศ. 1885
19 เบนจามิน แฮร์ริสัน   พรรคริพับลิกัน 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 1888 4 มีนาคม ค.ศ. 1889
20 โกรเวอร์ คลีฟแลนด์   พรรคเดโมแครต 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1892 4 มีนาคม ค.ศ. 1893
21 วิลเลียม แมกคินลีย์   พรรคริพับลิกัน 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1896 4 มีนาคม ค.ศ. 1897
22 วิลเลียม ฮาวเวิร์ด แทฟต์   พรรคริพับลิกัน 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1908 4 มีนาคม ค.ศ. 1909
23 วูดโรว์ วิลสัน   พรรคเดโมแครต 5 พฤศจิกายน ค.ศ. 1912 4 มีนาคม ค.ศ. 1913
24 วาร์เรน จี. ฮาร์ดิง   พรรคริพับลิกัน 2 พฤศจิกายน ค.ศ. 1920 4 มีนาคม ค.ศ. 1921
25 เฮอร์เบิร์ต ฮูเวอร์   พรรคริพับลิกัน 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 1928 4 มีนาคม ค.ศ. 1929
26 แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์   พรรคเดโมแครต 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1932 4 มีนาคม ค.ศ. 1933
27 ดไวต์ ดี. ไอเซนฮาวร์   พรรคริพับลิกัน 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1952 20 มกราคม ค.ศ. 1953
28 จอห์น เอฟ. เคนเนดี   พรรคเดโมแครต 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1960[7] 20 มกราคม ค.ศ. 1961
29 ริชาร์ด นิกสัน   พรรคริพับลิกัน 5 พฤศจิกายน ค.ศ. 1968 20 มกราคม ค.ศ. 1969
30 จิมมี คาร์เตอร์   พรรคเดโมแครต 2 พฤศจิกายน ค.ศ. 1976 20 มกราคม ค.ศ. 1977
31 โรนัลด์ เรแกน   พรรคริพับลิกัน 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1980 20 มกราคม ค.ศ. 1981
32 จอร์จ เอช. ดับเบิลยู. บุช   พรรคริพับลิกัน 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1988 20 มกราคม ค.ศ. 1989
33 บิล คลินตัน   พรรคเดโมแครต 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1992 20 มกราคม ค.ศ. 1993
34 จอร์จ ดับเบิลยู. บุช   พรรคริพับลิกัน 13 ธันวาคม ค.ศ. 2000[8] 20 มกราคม ค.ศ. 2001
35 บารัค โอบามา   พรรคเดโมแครต 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 2008 20 มกราคม ค.ศ. 2009
36 ดอนัลด์ ทรัมป์   พรรคริพับลิกัน 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 2016 20 มกราคม ค.ศ. 2017
37 โจ ไบเดิน   พรรคเดโมแครต 7 พฤศจิกายน ค.ศ. 2020 20 มกราคม ค.ศ. 2021
38 ดอนัลด์ ทรัมป์   พรรคริพับลิกัน 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 2024 ปัจจุบัน

หมายเหตุ

[แก้]
  1. "Journal of the First Session of the Senate of The United States of America, Begun and Held at the City of New York, March 4, 1789, And In The Thirteenth Year of the Independence of the Said States". Senate Journal. Gales & Seaton. 1820. pp. 7–8.
  2. วันที่สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาประชุมในวาระร่วมเพื่อนับคะแนนเสียงจากผู้แทน (electoral votes) และประกาศให้จอร์จ วอชิงตัน เป็นว่าที่ประธานาธิบดี
  3. 3.0 3.1 วันที่เลือกตั้งโดยสภาผู้แทนราษฎร
  4. เข้ารับตำแหน่งในวันที่ 5 มีนาคม
  5. วันที่สภาคองเกรสรับรองผลการเลือกตั้ง
  6. สาบานตนเข้ารับตำแหน่งเป็นการส่วนตัวในวันที่ 3 มีนาคม และอย่างเป็นทางการในวันที่ 5 มีนาคม
  7. วันเลือกตั้งคือวันที่ 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1960 แต่เนื่องจากผลคะแนนสูสีอย่างมาก ริชาร์ด นิกสัน จึงยังไม่ประกาศยอมแพ้จนกระทั่งช่วงบ่ายของวันที่ 9 พฤศจิกายน
  8. วันที่อัล กอร์ ประกาศยอมแพ้หลังจากที่ศาลฎีกามีคำสั่งระงับการนับคะแนนเสียงใหม่อีกรอบในรัฐฟลอริดา (ดูที่ Ian Christopher McCaleb (December 13, 2000). "Bush, now president-elect, signals will to bridge partisan gaps". CNN.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-06-04. สืบค้นเมื่อ 2009-02-10.).