ข้ามไปเนื้อหา

รัฐสมาชิกสหภาพยุโรป

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
รัฐสมาชิกสหภาพยุโรป

รัฐสมาชิกสหภาพยุโรป (อังกฤษ: Member State of the European Union) คือประเทศใดประเทศหนึ่งใน 27 ประเทศที่ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป ตั้งแต่การก่อตั้งประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้าแห่งยุโรป (ECSC) เป็นต้นมา เดิมทีประเทศก่อตั้งมีเพียง 6 ประเทศ ซึ่งได้มีการขยายสมาชิกทั้งสิ้น 6 ครั้ง โดยที่ครั้งที่ใหญ่ที่สุดเกิดเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 ที่มีรัฐสมาชิกเข้าร่วมกว่า 10 ประเทศ ปัจจุบันสหภาพยุโรปประกอบด้วยประเทศ 21 สาธารณรัฐ, 5 ราชอาณาจักร และ 1 ราชรัฐ

การเพิ่มโรมาเนียและบัลแกเรียเข้าเป็นสมาชิกในปี พ.ศ. 2550 รวมทั้งโครเอเชียในปีพ.ศ. 2556 ทำให้ปัจจุบันสหภาพยุโรปมีรัฐสมาชิกทั้งสิ้น 27 ประเทศ การต่อรองและเจรจาให้ประเทศอื่นๆ เข้าเป็นสมาชิกยังคงดำเนินการอยู่เรื่อยๆ ขั้นตอนการขยายสหภาพยุโรปนี้บางครั้งเรียกว่าการรวมกลุ่มยุโรป ก่อนที่จะเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปได้นั้น ประเทศนั้นจะต้องผ่านเงื่อนไขทางเศรษฐกิจและการเมืองที่รู้จักกันดีในชื่อ "เกณฑ์โคเปนเฮเกน" ซึ่งกำหนดไว้ว่าประเทศที่มีสิทธิเข้าเป็นสมาชิกจะต้องเป็นรัฏฐาธิปัตย์ ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย มีองค์กรที่ส่งเสริมสิทธิเสรีภาพและเคารพต่อกฎหมาย ภายใต้สนธิสัญญาสหภาพยุโรป การขยายสหภาพยุโรปต้องขึ้นอยู่กับข้อตกลงของแต่ละรัฐสมาชิกและผ่านการรับรองจากสภายุโรปอีกด้วย

รายชื่อประเทศสมาชิก

[แก้]
ธง รัฐ
เข้าร่วม
ประชากร
พื้นที่ (กิโลเมตร2)
จีดีพี (พีพีพี)[1] สกุลเงิน
จีนี
เอชดีไอ
ภาษาราชการ ดินแดนพิเศษ
ออสเตรีย ออสเตรีย 1 มกราคม พ.ศ. 2538 8,414,638[2] 83,855 38,838[3] ยูโร 29.1[4] 885[5] ภาษาเยอรมัน
เบลเยียม เบลเยียม ประเทศผู้ก่อตั้ง 11,007,020[2] 30,528 35,421[3] ยูโร 33.0[4] 886[5] ภาษาดัตช์
ภาษาฝรั่งเศส
ภาษาเยอรมัน
บัลแกเรีย บัลแกเรีย 1 มกราคม พ.ศ. 2550 7,364,570[2] 110,994 11,900[3] เลฟ 29.2[4] 771[5] ภาษาบัลแกเรีย
โครเอเชีย โครเอเชีย 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 4,398,150[2] 56,542 19,467[3] คูนา 33.7[4] 805[5] ภาษาโครเอเชีย
ไซปรัส ไซปรัส 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 801,851[2] 9,251 28,544[3] ยูโร 31.2[4] 840[5] ภาษากรีก
ภาษาตุรกี
เช็กเกีย เช็กเกีย 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 10,562,214[2] 78,866 24,093[3] โกรูนา 25.8[4] 865[5] ภาษาเช็ก
เดนมาร์ก เดนมาร์ก 1 มกราคม พ.ศ. 2516 5,671,050[2] 43,075 35,757[3] โครน 24.7[4] 895[5] ภาษาเดนมาร์ก
เอสโตเนีย เอสโตเนีย 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 1,340,194[2] 45,227 17,908[3] ยูโร 36.0[4] 835[5] ภาษาเอสโตเนีย
ฟินแลนด์ ฟินแลนด์ 1 มกราคม พ.ศ. 2538 5,350,475[2] 338,424 33,555[3] ยูโร 26.9[4] 882[5] ภาษาฟินแลนด์
ภาษาสวีเดน
ฝรั่งเศส ฝรั่งเศส ประเทศผู้ก่อตั้ง 65,350,000[2] 674,843 33,678[3] ยูโร 32.7[4] 884[5] ภาษาฝรั่งเศส
เยอรมนี เยอรมนี ประเทศผู้ก่อตั้ง[t 5] 81,799,600[2] 357,021 34,212[3] ยูโร 28.3[4] 905[5] ภาษาเยอรมัน
กรีซ กรีซ 1 มกราคม พ.ศ. 2524 11,305,118[2] 131,990 29,881[3] ยูโร 34.3[4] 861[5] ภาษากรีก
ฮังการี ฮังการี 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 10,015,295[2] 93,030 18,566[3] โฟรินต์ 30.0[4] 816[5] ภาษาฮังการี
สาธารณรัฐไอร์แลนด์ ไอร์แลนด์ 1 มกราคม พ.ศ. 2516 4,588,252[2] 70,273 39,468[3] ยูโร 34.3[4] 908[5] ภาษาไอริช
ภาษาอังกฤษ
อิตาลี อิตาลี ประเทศผู้ก่อตั้ง 60,681,514[2] 301,338 29,109[3] ยูโร 36.0[4] 874[5] ภาษาอิตาลี
ลัตเวีย ลัตเวีย 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 2,067,887[2] 64,589 14,254[3] ยูโร 35.7[4] 805[5] ภาษาลัตเวีย
ลิทัวเนีย ลิทัวเนีย 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 3,190,070[2] 65,200 16,542[3] ยูโร 35.8[4] 810[5] ภาษาลิทัวเนีย
ลักเซมเบิร์ก ลักเซมเบิร์ก ประเทศผู้ก่อตั้ง 511,840[2] 2,586.4 78,395[3] ยูโร 30.8[4] 867[5] ภาษาฝรั่งเศส
ภาษาเยอรมัน
ภาษาลักเซมเบิร์ก
มอลตา มอลตา 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 452,515[2] 316 23,583[3] ยูโร 25.8[4] 832[5] ภาษามอลตา
ภาษาอังกฤษ
เนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ ประเทศผู้ก่อตั้ง 16,847,007[2] 41,543 39,937[3] ยูโร 30.9[4] 910[5] ภาษาดัตช์
โปแลนด์ โปแลนด์ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 38,501,000[2] 312,685 18,072[3] ซวอตี 34.9[4] 813[5] ภาษาโปแลนด์
โปรตุเกส โปรตุเกส 1 มกราคม พ.ศ. 2529 10,561,614[2] 92,390 21,858[3] ยูโร 38.5[4] 809[5] ภาษาโปรตุเกส[t 6]
โรมาเนีย โรมาเนีย 1 มกราคม พ.ศ. 2550 19,042,936[2] 238,391 11,917[3] เลอู 31.5[4] 781[5] ภาษาโรมาเนีย
สโลวาเกีย สโลวาเกีย 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 5,397,036[2] 49,035 21,244[3] ยูโร 25.8[4] 834[5] ภาษาสโลวัก
สโลวีเนีย สโลวีเนีย 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 2,050,189[2] 20,273 27,654[3] ยูโร 31.2[4] 884[5] ภาษาสโลวีเนีย
สเปน สเปน 1 มกราคม พ.ศ. 2529 46,030,109[2] 504,030 31,963[3] ยูโร 32.0[4] 878[5] ภาษาสเปน[t 7]
สวีเดน สวีเดน 1 มกราคม พ.ศ. 2538 9,415,295[2] 449,964 35,964[3] โครนา 25.0[4] 904[5] ภาษาสวีเดน
Notes
  1. ไซปรัสเหนือไม่ได้ถูกรับรองโดยสหภาพยุโรป ดังนั้นมันจึงถูกพิจารณาโดยนิตินัยว่าเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐไซปรัสและสหภาพยุโรป แต่ในทางพฤตินัยไซปรัสเหนืออยู่นอกเหนืออำนาจของทั้งไซปรัสและสหภาพยุโรป ไซปรัสเหนือปฏิบัติตนเสมือนประเทศเอกราช มีเพียงตุรกีเท่านั้นที่รับรองความเป็นรัฐอธิปไตยให้ ดูเพิ่มที่ข้อพิพาทไซปรัส
  2. โดยนิตินัยเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐไซปรัสและสหภาพยุโรป แต่ในทางพฤตินัยไซปรัสเหนืออยู่นอกเหนืออำนาจของทั้งไซปรัสและสหภาพยุโรปเนื่องจากข้อพิพาทไซปรัส เขตกันชนนี้ถูกควบคุมโดยสหประชาชาติ
  3. กรีนแลนด์ถอนตัวจากสหภาพยุโรปเมื่อปี พ.ศ. 2528
  4. 4.0 4.1 ดูเพิ่มที่มาตรา 355 วรรค 1 ของสนธิสัญญาว่าด้วยการดำเนินงานของสหภาพยุโรป [1] เก็บถาวร 2012-10-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  5. เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2533 , สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนีรวมเข้ากับสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีซึ่งเป็นประเทศผู้ก่อตั้ง จึงกลายมาเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพยุโรปโดยอัตโนมัติ
  6. ภาษาท้องถิ่นได้แก่ ภาษามีรังดา
  7. ภาษาท้องถิ่นได้แก่ ภาษาบาสก์, ภาษากาตาลา/ภาษาบาเลนเซีย และ ภาษากาลิเซีย ที่ไม่เหมือนกับภาษาท้องถิ่นอื่นๆ ภาษาเหล่านี้ได้รับอนุญาตให้ใช้อย่างเป็นทางการในสถาบันต่างๆ ของยุโรปได้ จากการที่สเปนทำข้อตกลงร่วมกับคณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป

อดีตประเทศสมาชิก

[แก้]
ธง รัฐ
เข้าร่วม
ลาออก
ประชากร
พื้นที่ (กิโลเมตร2)
จีดีพี (พีพีพี)[6] สกุลเงิน
จีนี
เอชดีไอ
ภาษาราชการ ดินแดนพิเศษ
สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร 1 มกราคม พ.ศ. 2516 31 มกราคม พ.ศ. 2563 62,262,000[2] 243,610 34,618[3] ปอนด์ 36.0[4] 863[5] ภาษาอังกฤษ[t 1]
Notes

อ้างอิง

[แก้]
ลำดับเหตุการณ์การขยายสหภาพยุโรป
  1. at purchasing power parity, per capita, in international dollars (rounded)
  2. 2.00 2.01 2.02 2.03 2.04 2.05 2.06 2.07 2.08 2.09 2.10 2.11 2.12 2.13 2.14 2.15 2.16 2.17 2.18 2.19 2.20 2.21 2.22 2.23 2.24 2.25 2.26 2.27 "Eurostat Population Estimate". Eurostat. 2010-01-01. สืบค้นเมื่อ 2010-01-08.
  3. 3.00 3.01 3.02 3.03 3.04 3.05 3.06 3.07 3.08 3.09 3.10 3.11 3.12 3.13 3.14 3.15 3.16 3.17 3.18 3.19 3.20 3.21 3.22 3.23 3.24 3.25 3.26 3.27 [http://www.imf.org/external/pubs/ft/weo/2010/01/weodata/weorept.aspx? pr.x=83&pr.y=8&sy=2009&ey=2009&scsm=1&ssd=1&sort=country&ds=.&br=1&c=941%2C946%2C137%2C122%2C181%2C124%2C918%2C138%2C964%2C182%2C960%2C968%2C423%2C935%2C128%2C936%2C939%2C961%2C172%2C184%2C132%2C134%2C174%2C144%2C944%2C176%2C178%2C136%2C112&s=PPPPC&grp=0&a= Report for Selected Countries and Subjects] IMF
  4. 4.00 4.01 4.02 4.03 4.04 4.05 4.06 4.07 4.08 4.09 4.10 4.11 4.12 4.13 4.14 4.15 4.16 4.17 4.18 4.19 4.20 4.21 4.22 4.23 4.24 4.25 4.26 4.27 "UNDP.org". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-10-17. สืบค้นเมื่อ 2012-09-25.
  5. 5.00 5.01 5.02 5.03 5.04 5.05 5.06 5.07 5.08 5.09 5.10 5.11 5.12 5.13 5.14 5.15 5.16 5.17 5.18 5.19 5.20 5.21 5.22 5.23 5.24 5.25 5.26 5.27 "Human Development Report 2011 - Human development statistical annex" (PDF). HDRO (Human Development Report Office) United Nations Development Programme. pp. 127–130. สืบค้นเมื่อ 2 November 2011.
  6. at purchasing power parity, per capita, in international dollars (rounded)