ข้ามไปเนื้อหา

ฟุตบอลโลกหญิงอายุไม่เกิน 20 ปี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลโลกหญิงอายุไม่เกิน 20 ปี
ก่อตั้ง2002
ภูมิภาคนานาชาติ (ฟีฟ่า)
จำนวนทีม16 (รอบสุดท้าย)
ทีมชนะเลิศปัจจุบันธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น (ชนะครั้งที่ 1)
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุดธงชาติเยอรมนี เยอรมนี
ธงชาติสหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา
(ชนะ 3 ครั้ง)
2014 FIFA U-20 Women's World Cup

ฟุตบอลโลกหญิงอายุไม่เกิน 20 ปี (อังกฤษ: FIFA U-20 Women's World Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลในระดับนานาชาติ จัดขึ้นโดยฟีฟ่า สำหรับทีมชาติหญิงอายุไม่เกิน 20 ปี โดยจัดขึ้นในปีเลขคู่ เริ่มก่อตั้งในปี ค.ศ. 2002 ในชื่อ การแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์โลกหญิง ยู 19 (FIFA U-19 Women's World Championship) ผู้เข้าแข่งขันอายุไม่เกิน 19 ปี แต่ในปี ค.ศ. 2006 เพิ่มเป็น 20 ปี

รอบคัดเลือก

[แก้]
Confederation Championship
AFC (เอเชีย) ฟุตบอลหญิงชิงแชมป์เอเชียอายุไม่เกิน 19 ปี
CAF (แอฟริกา) ฟุตบอลหญิงชิงแชมป์แอฟริกาอายุไม่เกิน 20 ปี
คอนคาแคฟ (อเมริกาเหนือ, อเมริกากลาง และ แคริเบียน) ฟุตบอลหญิงชิงแชมป์คอนคาแคฟอายุไม่เกิน 20 ปี
คอนเมบอล (อเมริกาใต้) ฟุตบอลหญิงชิงแชมป์อเมริกาใต้อายุไม่เกิน 20 ปี
โอเอฟซี (โอเซียเนีย) ฟุตบอลหญิงชิงแชมป์โอเซียเนียอายุไม่เกิน 20 ปี
ยูฟ่า (ยุโรป) ฟุตบอลหญิงชิงแชมป์ยุโรปอายุไม่เกิน 19 ปี

ประวัติ

[แก้]

การแข่งขัน

[แก้]

สหรัฐอเมริกาเป็นแชมป์ 3 สมัย.[1]

ปี เจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงอันดับสาม Nจำนวนทีมที่เข้าร่วม
ชนะเลิศ คะแนน รองชนะเลิศ อันดับสาม คะแนน อันดับสี่
2002
รายละเอียด
 แคนาดา
สหรัฐอเมริกา
1 – 0
asdet

แคนาดา

เยอรมนี
1 – 1
(4–3) PSO

บราซิล
12
2004
รายละเอียด
 ไทย
เยอรมนี
2 – 0
สาธารณรัฐประชาชนจีน

สหรัฐอเมริกา
3 – 0
บราซิล
12
2006
รายละเอียด
 รัสเซีย
เกาหลีเหนือ
5 – 0
สาธารณรัฐประชาชนจีน

บราซิล
0 – 0 a.e.t.
(6–5) การยิงลูกโทษ

สหรัฐอเมริกา
16
2008
รายละเอียด
 ชิลี
สหรัฐอเมริกา
2 – 1
เกาหลีเหนือ

เยอรมนี
5 – 3
ฝรั่งเศส
16
2010
รายละเอียด
 เยอรมนี
เยอรมนี
2 – 0
ไนจีเรีย

เกาหลีใต้
1 – 0
โคลอมเบีย
16
2012
รายละเอียด
 ญี่ปุ่น
สหรัฐอเมริกา
1 – 0
เยอรมนี

ญี่ปุ่น
2 – 1
ไนจีเรีย
16
2014
รายละเอียด
 แคนาดา
เยอรมนี
1–0 a.e.t.
ไนจีเรีย

ฝรั่งเศส
3–2
เกาหลีเหนือ
16
2016
รายละเอียด
 ปาปัวนิวกินี
เกาหลีเหนือ
3–1
ฝรั่งเศส

ญี่ปุ่น
1–0
สหรัฐ
16
2018
รายละเอียด
 ฝรั่งเศส
ญี่ปุ่น
3–1
สเปน

อังกฤษ
1–1
(4–2 PSO)

ฝรั่งเศส
16

ผลการแข่งขันที่ผ่านมา

[แก้]
ทีม ชนะเลิศ รองชนะเลิศ อันดับสาม อันดับสี่
 เยอรมนี 3 (2004, 2010, 2014) 1 (2012) 2 (2002, 2008)
 สหรัฐ 3 (2002, 2008, 2012) 1 (2004) 2 (2006, 2016)
 เกาหลีเหนือ 2 (2006, 2016) 1 (2008) 1 (2014)
 ญี่ปุ่น 1 (2018) 1 (2022) 2 (2012, 2016)
 สเปน 1 (2022) 1 (2018)
 ไนจีเรีย 2 (2010, 2014) 1 (2012)
China PR 2 (2004, 2006)
 ฝรั่งเศส 1 (2016) 1 (2014) 2 (2008, 2018)
 แคนาดา 1 (2002)
 บราซิล 2 (2006, 2022) 2 (2002, 2004)
 เกาหลีใต้ 1 (2010)
 อังกฤษ 1 (2018)
 โคลอมเบีย 1 (2010)
 เนเธอร์แลนด์ 1 (2022)

ทีมที่เข้าร่วมการแข่งขัน

[แก้]
แผนที่ของทีมประเทศต่าง ๆ กับผลงานที่ดีที่สุด
แผนที่ของทีมประเทศต่าง ๆ กับผลงานที่ดีที่สุด

รางวัล

[แก้]

รางวัลลูกฟุตบอลทองคำ:[2]

Tournament Winner
2002 Canada แคนาดา Christine Sinclair
2004 Thailand บราซิล Marta
2006 Russia จีน Ma Xiaoxu
2008 Chile สหรัฐอเมริกา Sydney Leroux
2010 Germany เยอรมนี Alexandra Popp
2012 Japan เยอรมนี Dzsenifer Marozsán
2014 Canada ไนจีเรีย Asisat Oshoala

รองเท้าทองคำ

[แก้]
Tournament Winner Goals
2002 Canada แคนาดา Christine Sinclair 10
2004 Thailand แคนาดา Brittany Timko 7
2006 Russia จีน Ma Xiaoxu 5
2008 Chile สหรัฐอเมริกา Sydney Leroux 5
2010 Germany เยอรมนี Alexandra Popp 10
2012 Japan เกาหลีเหนือ Kim Un-Hwa 7
2014 Canada ไนจีเรีย Asisat Oshoala 7

ถุงมือทองคำ

[แก้]
Tournament Winner
2008 Chile สหรัฐอเมริกา Alyssa Naeher
2010 Germany สหรัฐอเมริกา Bianca Henninger
2012 Japan เยอรมนี Laura Benkarth
2014 Canada เยอรมนี Meike Kämper

รางวัลฟีฟ่าแฟร์เพลย์

[แก้]
Tournament Winner
2002 Canada  ญี่ปุ่น
2004 Thailand สหรัฐอเมริกา
2006 Russia  เกาหลีเหนือ
2008 Chile สหรัฐอเมริกา
2010 Germany  เกาหลีใต้
2012 Japan  ญี่ปุ่น
2014 Canada  แคนาดา

อันดับทีมในฟุตบอลโลกหญิงอายุไม่เกิน 20 ปี

[แก้]
สัญลักษณ์
  • 1st — แชมป์
  • 2nd — รองแชมป์
  • 3rd — อันดับ 3
  • 4th — อันดับ 4
  • QF — รอบก่อนชิงชนะเลิศ
  • R1 — รอบ 1, รอบคัดเลือก
  •  •  — ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
  •     — ไม่ได้เข้าร่วม / ถอนตัว
  • XX — Country did not exist or national team was inactive
  •    — เจ้าภาพ
  • q — Qualified for upcoming tournament
ทีม 2002
แคนาดา
(12)
2004
ไทย
(12)
2006
รัสเซีย
(16)
2008
ชิลี
(16)
2010
เยอรมนี
(16)
2012
ญี่ปุ่น
(16)
2014
แคนาดา
(16)
2016
ปาปัวนิวกินี
(16)
2018
ฝรั่งเศส
(16)
รวม
 อาร์เจนตินา R1 R1 R1 3
 ออสเตรเลีย QF QF R1 3
 บราซิล 4th 4th 3rd QF R1 R1 R1 QF R1 9
 แคนาดา 2nd QF R1 R1 R1 QF R1 7
 ชิลี R1 1
 จีน 2nd 2nd R1 R1 R1 R1 6
 จีนไทเป R1 1
 โคลอมเบีย 4th 1
 คอสตาริกา R1 R1 2
 เดนมาร์ก QF 1
 สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก R1 R1 2
 อังกฤษ QF QF R1 R1 3rd 5
 ฟินแลนด์ R1 R1 2
 ฝรั่งเศส R1 QF 4th R1 3rd 2nd 4th 7
 เยอรมนี 3rd 1st QF 3rd 1st 2nd 1st QF QF 9
 กานา R1 R1 R1 R1 R1 5
 เฮติ R1 1
 อิตาลี R1 R1 2
 ญี่ปุ่น QF QF R1 3rd 3rd 1st 6
 เม็กซิโก R1 R1 R1 QF QF R1 QF R1 8
 เนเธอร์แลนด์ QF 1
 นิวซีแลนด์ R1 R1 R1 R1 QF R1 R1 7
 ไนจีเรีย R1 QF QF QF 2nd 4th 2nd R1 QF 9
 เกาหลีเหนือ 1st 2nd QF QF 4th 1st QF 7
 นอร์เวย์ R1 QF 2
 ปาปัวนิวกินี R1 1
 ปารากวัย R1 R1 2
 รัสเซีย QF QF 2
 เกาหลีใต้ R1 3rd QF QF R1 5
 สเปน R1 QF 2nd 3
 สวีเดน QF R1 2
 สวิตเซอร์แลนด์ R1 R1 R1 3
 ไทย R1 1
 สหรัฐ 1st 3rd 4th 1st QF 1st QF 4th R1 9
 เวเนซุเอลา R1 1

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Women U-19/U-20 World Cup". RSSSF. สืบค้นเมื่อ 13 December 2013.
  2. "fica.com, Statistical kit" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2014-08-17. สืบค้นเมื่อ 2014-02-27.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]

แม่แบบ:ฟุตบอลโลกอายุไม่เกิน 20 ปี

แม่แบบ:สหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศ