ฟุตบอลทีมชาติยูโกสลาเวีย
หน้าตา
to 1920–1992 | |||
---|---|---|---|
ฉายา | Plavi (น้ำเงิน) Brazilians of Europe[1] แดนสงคราม (ฉายาในภาษาไทย) | ||
สมาคม | สมาคมฟุตบอลยูโกสลาเวีย | ||
ติดทีมชาติสูงสุด | Dragan Džajić (85) | ||
ทำประตูสูงสุด | Stjepan Bobek (38) | ||
สนามเหย้า | สนามกีฬารายกอ มีติช เบลเกรด | ||
รหัสฟีฟ่า | YUG | ||
| |||
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก | |||
เชโกสโลวาเกีย 7–0 ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย (แอนต์เวิร์ป ประเทศเบลเยียม; 28 สิงหาคม 1920) | |||
ชนะสูงสุด | |||
ยูโกสลาเวีย 10–0 เวเนซุเอลา (กูรีชีบา ประเทศบราซิล; 14 มิถุนายน 1972)[2][3] | |||
แพ้สูงสุด | |||
เชโกสโลวาเกีย 7–0 ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย (แอนต์เวิร์ป ประเทศเบลเยียม; 28 สิงหาคม 1920) อุรุกวัย 7–0 ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย (ปารีส ประเทศฝรั่งเศส; 26 พฤษภาคม 1924) เชโกสโลวาเกีย 7–0 ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย (ปราก เชโกสโลวาเกีย; 28 ตุลาคม 1925) | |||
ฟุตบอลโลก | |||
เข้าร่วม | 8[a] (ครั้งแรกใน 1930) | ||
ผลงานดีที่สุด | อันดับที่ 4 (1930, 1962) | ||
ชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป | |||
เข้าร่วม | 4[a] (ครั้งแรกใน 1960) | ||
ผลงานดีที่สุด | รองชนะเลิศ (1960, 1968) | ||
ฟุตบอลทีมชาติยูโกสลาเวีย[b] เป็นอดีตทีมฟุตบอลตัวแทนของราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย (ค.ศ. 1918–1941) และสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย (ค.ศ. 1943–1992) เป็นทีมที่ประสบความสำเร็จในการแข่งขันหลายรายการ แต่ในปี ค.ศ. 1992 ช่วงสงครามยูโกสลาเวีย ทีมชาติถูกลงโทษจากสหประชาชาติมิให้เข้าร่วมการแข่งขันใด ๆ ต่อมาในปี ค.ศ. 1994 ทีมชาติยูโกสลาเวียจึงกลายเป็นทีมชาติเซอร์เบียและมอนเตเนโกร
แม้ว่ายูโกสลาเวียจะถูกแยกเป็นหลายประเทศ แต่ทีมชาติเซอร์เบียถือเป็นผู้สืบทอดทีมชาติยูโกสลาเวียแต่เพียงผู้เดียว ภายใต้การรับรองของฟีฟ่าและยูฟ่า[4][5][6]
ชุดผู้เล่น
[แก้]1930
|
1950–1968
|
1974
|
1976
|
1982
|
1984
|
1990
|
1992
|
ทีมชาติหลังแยกประเทศ
[แก้]ทีมชาติ | การแข่งขันระดับนานาชาติ | การรับรองโดยฟีฟ่า |
---|---|---|
โครเอเชีย | ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 1996 ฟุตบอลโลก 1998 ฟุตบอลโลก 2002 ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2004 ฟุตบอลโลก 2006 ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2008 ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2012 ฟุตบอลโลก 2014 ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016 ฟุตบอลโลก 2018 ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2000 |
(ตั้งแต่ ค.ศ. 1991) |
เซอร์เบีย | ฟุตบอลโลก 1998 (ในชื่อเซอร์เบียและมอนเตเนโกร) ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2000 (ในชื่อเซอร์เบียและมอนเตเนโกร) ฟุตบอลโลก 2006 (ในชื่อเซอร์เบียและมอนเตเนโกร) ฟุตบอลโลก 2010 (ในชื่อสาธารณรัฐเซอร์เบีย) ฟุตบอลโลก 2018 (ในชื่อสาธารณรัฐเซอร์เบีย) |
(ผู้สืบทอดหลัก) |
สโลวีเนีย | ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2000 ฟุตบอลโลก 2002 ฟุตบอลโลก 2010 |
(ตั้งแต่ ค.ศ. 1991) |
บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา | ฟุตบอลโลก 2014 |
(ตั้งแต่ ค.ศ. 1995) |
มาซิโดเนียเหนือ | ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2020 |
(ตั้งแต่ ค.ศ. 1991) |
มอนเตเนโกร | (ตั้งแต่ ค.ศ. 2007) | |
คอซอวอ | (ตั้งแต่ ค.ศ. 2016) |
อดีตผู้เล่นคนสำคัญ
[แก้]เปเเดร๊ก มิยาโตวิช
ดูเพิ่ม
[แก้]- รายนามนักฟุตบอลทีมชาติยูโกสลาเวีย
- รายนามผู้ทำประตูทีมชาติยูโกสลาเวีย
- ฟุตบอลทีมชาติยูโกสลาเวียรุ่นอายุไม่เกิน 21 ปี
- ฟุตบอลทีมชาติยูโกสลาเวียรุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี
- ทีมชาติสืบทอด
- ฟุตบอลทีมชาติบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
- ฟุตบอลทีมชาติโครเอเชีย
- ฟุตบอลทีมชาตินอร์ทมาซิโดเนีย
- ฟุตบอลทีมชาติมอนเตเนโกร
- ฟุตบอลทีมชาติเซอร์เบีย (ผู้สืบทอดอย่างเป็นทางการโดยการรับรองของฟีฟ่าและยูฟ่า)
- ฟุตบอลทีมชาติสโลวีเนีย
หมายเหตุ
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 ใน ค.ศ. 1992 ก่อนการแยกประเทศของสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย สำหรับข้อมูลช่วงหลัง ดูฟุตบอลทีมชาติเซอร์เบียและมอนเตเนโกร
- ↑ เซอร์เบีย: Фудбалска репрезентација Југославије, อักษรโรมัน: Fudbalska reprezentacija Jugoslavije; โครเอเชีย: Jugoslavenska nogometna reprezentacija; สโลวีเนีย: Jugoslovanska nogometna reprezentanca; มาซิโดเนีย: Фудбалска репрезентација на Југославија, อักษรโรมัน: Fudbalska reprezentacija na Jugoslavija
อ้างอิง
[แก้]- ↑ A farewell to Yugoslavia openDemocracy.net. Dejan Djokic; 10 April 2002
- ↑ "Jugoslavija – Venecuela 10–0". Reprezentacija.rs (ภาษาเซอร์โบ-โครเอเชีย). 14 October 2009. สืบค้นเมื่อ 25 February 2019.
- ↑ "1974 FIFA World Cup Germany ™ - Matches - Yugoslavia-Zaire". FIFA.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 April 2015. สืบค้นเมื่อ 25 February 2019.
- ↑ History เก็บถาวร 2011-12-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน at FSS official website, Retrieved October 4, 2012 (เซอร์เบีย)
- ↑ Serbia เก็บถาวร 2017-07-23 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน at FIFA official website
- ↑ News: Serbia at UEFA official website, published January 1, 2011, Retrieved October 4, 2012
บรรณานุกรม
[แก้]- Gigi Riva (2016). L'ultimo rigore di Faruk. Una storia di calcio e di guerra [The Faruk's last penalty. A story about football and war] (ภาษาอิตาลี). Palermo: Sellerio. ISBN 978-8838935640.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ฟุตบอลทีมชาติยูโกสลาเวีย