ผู้ใช้:ZeroSixTwo/กระบะทราย30
เขตการปกครองของประเทศยูเครน (ยูเครน: Адміністративний устрій України, อักษรโรมัน: Administratyvnyi ustrii Ukrainy) อยู่ภายใต้อำนาจของรัฐธรรมนูญยูเครน ประเทศยูเครนมีสถานะเป็นรัฐเดี่ยวประกอบด้วยเขตการปกครองสามระดับ ระดับแรกประกอบด้วยแคว้นหรือออบลัสจ์จำนวน 24 แคว้น นครซึ่งมีสถานะพิเศษจำนวน 2 นคร และสาธารณรัฐปกครองตนเอง 1 สาธารณรัฐ รวมทั้งหมด 27 เขตการปกครอง ระดับที่สองได้แก่อำเภอหรือรายอนจำนวน 136 อำเภอ และระดับที่สามได้แก่เทศบาลหรือฮรอมาดาจำนวน 1469 เทศบาล[1][2]
การปฏิรูปการบริหารราชการเมื่อเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2020 ยุบรวมอำเภอเดิมจำนวน 490 อำเภอและนครสำคัญระดับภูมิภาคเดิมจำนวน 118 นครเข้าเป็นอำเภอใหม่จำนวน 136 อำเภอ ซึ่งจะแบ่งย่อยลงไปอีกเป็นเทศบาล[3]
หลังจากที่สหพันธรัฐรัสเซียได้ผนวกไครเมียและภาคใต้และภาคตะวันออกของยูเครนเข้าเป็นส่วนหนึ่งของรัสเซีย สาธารณรัฐปกครองตนเองไครเมียและนครเซวัสโตปอลรวมไปถึงพื้นที่บางส่วนของแคว้นดอแนตสก์ แคว้นแคร์ซอน แคว้นลูฮันสก์ และแคว้นซาปอริฌเฌียอยู่ภายใต้การบริหารของสหพันธรัฐรัสเซียโดยพฤตินัย ประเทศส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการอ้างสิทธิในดินแดนเหล่านี้โดยรัสเซีย[4]
ภาพรวม
[แก้]รัฐธรรมนูญยูเครนมาตรา 133 ระบุว่าระบบการบริหารราชการของประเทศยูเครนประกอบด้วย:
- สาธารณรัฐปกครองตนเอง
- แคว้น
- อำเภอ
- สถานที่ที่มีประชากร (นคร นิคมชนบท และหมู่บ้าน)
- เขต
- เทศบาล[5]
การปฏิรูประบบบริหารราชการประเทศยูเครน ค.ศ. 2020 ได้จัดระเบียบสถานที่ที่มีประชากรทั้งหมด (ยกเว้นนครซึ่งมีสถานะพิเศษสองนครได้แก่เคียฟและเซวัสโตปอล) เข้าอยู่ในอำเภอใหม่จำนวน 136 อำเภอ[6] จำนนว 136 อำเภอนี้รวมไปถึง 10 อำเภอในสาธารณรัฐปกครองตนเองไครเมียและนครเซวัสโตปอล ซึ่งอำเภอในสาธารณรัฐปกครองตนเองไครเมียมีผลบังคับใช้ตั้งแต่เดือนกันยายน ค.ศ. 2023[7]
ระดับการปกครอง | เขตการปกครอง | จำนวน |
---|---|---|
ระดับแรก | สาธารณรัฐปกครองตนเอง | 1 |
นครซึ่งมีสถานะพิเศษ | 2 | |
แคว้น (ออบลัสจ์) | 24 | |
ระดับที่สอง | อำเภอ (รายอน) | 136 |
ระดับที่สาม | เทศบาล (ฮรอมาดา) | 1469 |
ระดับแรก
[แก้]เขตการปกครองระดับแรกมีสามประเภท ได้แก่แคว้นจำนวน 24 แคว้น สาธารณรัฐปกครองตนเอง 1 สาธารณรัฐ และนครซึ่งมีสถานะพิเศษ 2 นคร
สี | คำอธิบาย |
---|---|
แคว้น 24 แคว้น
|
แคว้น หรือ ออบลัสจ์ เป็นเขตการปกครองระดับแรกประเภทหลักในประเทศยูเครน เนื่องจากประเทศยูเครนเป็นรัฐเดี่ยว แคว้นจึงไม่มีอำนาจหน้าที่มากนักนอกเหนือจากที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญยูเครนและกฎหมายอื่น มาตรา 140–146 ในหมวด 9 ของรัฐธรรมนูญยูเครนกล่าวถึงการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นและอำนาจหน้าที่ขององค์กรปกครองท้องถิ่น |
สาธารณรัฐปกครองตนเอง 1 สาธารณรัฐ
|
สถานะการบริหารของสาธารณรัฐปกครองตนเองไครเมียระบุไว้ในหมวด 10 ของรัฐธรรมนูญยูเครนว่าด้วยสาธารณรัฐปกครองตนเองไครเมีย และปกครองตามกฎหมายซึ่งผ่านโดยรัฐสภายูเครน รัสเซียได้ผนวกดินแดนไครเมียเข้าเป็นส่วนหนึ่งของรัสเซียโดยมิชอบด้วยกฎหมายใน ค.ศ. 2014[8] |
นครซึ่งมีสถานะพิเศษ 2 นคร
|
นครซึ่งมีสถานะพิเศษมีจำนวน 2 นครได้แก่เคียฟและเซวัสโตปอล (เซวัสโตปอลถูกยึดครองตั้งแต่ ค.ศ. 2014) สถานะการบริหารนครซึ่งมีสถานะพิเศษระบุไว้ในหมวด 9 ของรัฐธรรมนูญยูเครนว่าด้วยโครงสร้างหน่วยการปกครองของประเทศยูเครน[9] นครซึ่งมีสถานะพิเศษนี้จะแบ่งย่อยลงไปเป็นเขตซึ่งจะไม่แบ่งย่อยลงไปเป็นเทศบาลหรือฮรอมาดาเหมือนกับในแคว้นหรือสาธารณรัฐปกครองตนเอง |
รายชื่อ
[แก้]ธง | ตราอาร์ม | หมายเลข | ชื่อ | พื้นที่ (กม.2) | ประชากร (คาดการณ์ ค.ศ. 2021) |
ความหนาแน่นประชากร (คน/กม.2ค.ศ. 2021) |
เมืองหลัก | จำนวนอำเภอ | จำนวนเทศบาล | ที่ตั้ง |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | สาธารณรัฐปกครองตนเองไครเมีย | 26,081 | 1,967,259 | 75.43 | ซิมเฟโรปอล | 10 | — | |||
2 | แคว้นวินนึตเซีย | 26,513 | 1,529,123 | 57.67 | วินนึตเซีย | 6 | 63 | |||
3 | แคว้นวอลึญ | 20,144 | 1,027,397 | 51.00 | ลุตสก์ | 4 | 54 | |||
4 | แคว้นดนีปรอแปตร็อวสก์ | 31,974 | 3,142,035 | 98.27 | ดนีปรอ | 7 | 86 | |||
5 | แคว้นดอแนตสก์ | 26,517 | 4,100,280 | 154.63 | ดอแนตสก์ (โดยนิตินัย) กรามาตอสก์ (โดยพฤตินัย) |
8 | 66 | |||
6 | แคว้นฌือตอมือร์ | 29,832 | 1,195,495 | 40.07 | ฌือตอมือร์ | 4 | 65 | |||
7 | แคว้นซาการ์ปัจจา | 12,777 | 1,250,129 | 97.84 | อุฌฮอรอด | 6 | 64 | |||
8 | แคว้นซาปอริฌเฌีย | 27,180 | 1,666,515 | 61.31 | ซาปอริฌเฌีย | 5 | 67 | |||
9 | แคว้นอีวานอ-ฟรันกิวสก์ | 13,928 | 1,361,109 | 97.72 | อีวานอ-ฟรันกิวสก์ | 6 | 62 | |||
10 | แคว้นเคียฟ | 28,131 | 1,788,530 | 63.58 | เคียฟ | 7 | 69 | |||
11 | แคว้นกีรอวอฮรัด | 24,588 | 920,128 | 37.42 | กรอปึวนึตสกึย | 4 | 49 | |||
12 | แคว้นลูฮันสก์ | 26,684 | 2,121,322 | 79.50 | ลูฮันสก์ (โดยนิตินัย) เซียเวียรอดอแนตสก์ (โดยพฤตินัย ค.ศ. 2014–2022) |
8 | 37 | |||
13 | แคว้นลวิว | 21,833 | 2,497,750 | 114.40 | ลวิว | 7 | 73 | |||
14 | แคว้นมือกอลายิว | 24,598 | 1,108,394 | 45.06 | มือกอลายิว | 4 | 52 | |||
15 | แคว้นออแดซา | 33,310 | 2,368,107 | 71.09 | ออแดซา | 7 | 91 | |||
16 | แคว้นปอลตาวา | 28,748 | 1,371,529 | 47.71 | ปอลตาวา | 4 | 60 | |||
17 | แคว้นริวแน | 20,047 | 1,148,456 | 57.29 | ริวแน | 4 | 64 | |||
18 | แคว้นซูมือ | 23,834 | 1,053,452 | 44.20 | ซูมือ | 5 | 51 | |||
19 | แคว้นแตร์นอปิล | 13,823 | 1,030,562 | 74.55 | แตร์นอปิล | 3 | 55 | |||
20 | แคว้นคาร์กิว | 31,415 | 2,633,834 | 83.84 | คาร์กิว | 7 | 56 | |||
21 | แคว้นแคร์ซอน | 28,461 | 1,016,707 | 35.72 | แคร์ซอน | 5 | 49 | |||
22 | แคว้นคแมลนึตสกึย | 20,645 | 1,243,787 | 60.25 | คแมลนึตสกึย | 3 | 60 | |||
23 | แคว้นแชร์กาซือ | 20,900 | 1,178,266 | 56.38 | แชร์กาซือ | 4 | 66 | |||
24 | แคว้นแชร์นิวต์ซี | 8,097 | 896,566 | 110.73 | แชร์นิวต์ซี | 3 | 52 | |||
25 | แคว้นแชร์นีฮิว | 31,865 | 976,701 | 30.65 | แชร์นีฮิว | 5 | 57 | |||
26 | เคียฟ | 839 | 2,962,180 | 3530.61 | เคียฟ | 10 | — | |||
27 | เซวัสโตปอล | 864 | 385,870 | 446.61 | เซวัสโตปอล | 4 | — |
Autonomous republic
[แก้]The Autonomous Republic of Crimea (ยูเครน: Автоно́мна Респу́бліка Крим) geographically encompasses the major portion of the Crimean peninsula in southern Ukraine. Its capital is Simferopol. The Autonomous Republic of Crimea is the only region within Ukraine that has its own constitution.
On 16 March 2014, after the occupation of Crimea by the Russian military, a referendum on joining the Russian Federation was held. A majority of votes supported the measure. On 21 March 2014, the Russian Duma voted to annex Crimea as a subject into the Russian Federation. The Ukrainian government does not recognize the referendum or annexation of Crimea as legitimate. On 27 March, the UN General Assembly passed Resolution 68/262 by 100 to 11 votes, recognizing the referendum as invalid and denying any legal change in the status of Crimea and Sevastopol.
Oblasts
[แก้]An oblast (ยูเครน: о́бласть; แม่แบบ:Plural form) is on the first level of the administrative division of Ukraine.
Most oblasts are named after their administrative center. Volyn and Zakarpattia, whose respective capitals are Lutsk and Uzhhorod, are named after the historic regions Volhynia and Transcarpathia.
Cities with special status
[แก้]Two cities have special status (ยูเครน: міста́ зі спеціа́льним ста́тусом): Kyiv and Sevastopol. Their special status puts them on the same administrative level as the oblasts, and thus under the direct supervision of the state via their respective local state administrations, which constitute the executive bodies of the cities. Following the annexation of Crimea by the Russian Federation, Sevastopol is controlled by Russia and is incorporated as a federal subject of Russia.[10][11]
Second level
[แก้]Raions
[แก้]Raions (ยูเครน: райо́н; แม่แบบ:Plural form) are smaller territorial units of subdivision in Ukraine. There are 136 raions.[12] Following the December 2019 draft constitutional changes submitted to the Verkhovna Rada by President Volodymyr Zelenskyy, 136 new raions have replaced the former 490 raions of Ukraine.[13]
Urban districts
[แก้]An urban district is subordinate to the city administration.[14]
Third level
[แก้]Hromadas
[แก้]The territorial hromadas (ยูเครน: територіа́льна грома́да; lit. 'territorial community'), or simlply hromadas (ยูเครน: грома́да) were established by the Government of Ukraine on 12 June 2020 as a part of administrative reform that started in 2015.[15]
There are three types of hromadas: rural (ยูเครน: сільська́ грома́да), settlement (ยูเครน: се́лищна грома́да) and urban (ยูเครน: міська́ грома́да). There are 1469 hromadas in total (as of November 1, 2023).[16]
History
[แก้]Cossack Hetmanate
[แก้]The Cossack Hetmanate was divided into military-administrative districts known as regimental districts (polks) whose number fluctuated with the size of the Hetmanate's territory. In 1649, when the Hetmanate controlled both the right and left banks, it included 16 such districts. After the loss of Right-bank Ukraine, this number was reduced to ten. The regimental districts were further divided into companies (sotnias), which were administered by captains (sotnyk).[17] The lowest division was the kurin.
Ukrainian People's Republic
[แก้]According to the Constitution of the Ukrainian People's Republic, the country was divided into zemlias (lands), volosts and hromadas (communities). This law was not fully implemented as on 29 April 1918 there was the anti-socialist coup in Kyiv, after which Pavlo Skoropadskyi reverted the reform back to the governorate-type administration.[18]
Soviet Ukraine
[แก้]Before the introduction of oblasts in 1932, Soviet Ukraine comprised 40 okruhas, which had replaced the former Russian Imperial governorate subdivisions.[19][20]
In 1932 the territory of the Soviet Ukraine was re-established based on oblasts. At the same time, most of the Western Ukraine at the time formed part of the Second Polish Republic and shared in the Polish form of administrative division based on voivodeships.[21]
See also
[แก้]References
[แก้]- ↑ Regions of Ukraine and their composition เก็บถาวร 2011-12-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Verkhovna Rada website.
- ↑ Paul D'Anieri, Robert Kravchuk, and Taras Kuzio (1999). Politics and society in Ukraine. Westview Press. p. 292. ISBN 0-8133-3538-8
- ↑ LiWebRadaAdmin (2015-05-22). "Реформа територіального устрою України". Silrada.org (ภาษายูเครน). สืบค้นเมื่อ 2022-10-20.
- ↑ "Putin signs documents to illegally annex four Ukrainian regions, in drastic escalation of Russia's war". The Globe and Mail (ภาษาอังกฤษแบบแคนาดา). 2022-09-30. สืบค้นเมื่อ 2023-05-05.
- ↑ "Конституція України | від 28.06.1996 № 254к/96-ВР (Сторінка 3 з 4)". 2019-04-02. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 April 2019. สืบค้นเมื่อ 2023-05-05.
- ↑ "Офіційний портал Верховної Ради України". static.rada.gov.ua. สืบค้นเมื่อ 2020-12-12.
- ↑ "Про внесення змін до деяких законодавчих актів України щодо вирішення окремих питань адміністративно-територіального устрою Автономної Республіки Крим". Офіційний вебпортал парламенту України (ภาษายูเครน). 2023-08-23. สืบค้นเมื่อ 2024-03-28.
- ↑ Gutterman, Steve; Polityuk, Pavel (2014-03-18). "Putin signs Crimea treaty as Ukraine serviceman dies in attack". Reuters (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2023-06-18.
- ↑ "Конституція України". Законодавство України (ภาษายูเครน). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 May 2019. สืบค้นเมื่อ 2023-06-18.
- ↑ "About the capital of Ukraine – the hero city of Kyiv (Vidomosti Verkhovnoi Rady Ukrainy (VVR), 1999, № 11, p. 79)". GOV.UA. Verkhovna Rada of Ukraine. สืบค้นเมื่อ 4 October 2021.
- ↑ "Russia's annexation of Crimea". Kyiv Independent (ภาษาอังกฤษ). 2022-12-14. สืบค้นเมื่อ 2023-05-04.
- ↑ "The council reduced the number of districts in Ukraine: 136 instead of 490". Ukrainska Pravda (ภาษายูเครน). 17 July 2020.
- ↑ "Zelensky's decentralization: without features of Donbas, but with districts and prefects". BBC Ukrainian (ภาษายูเครน). 16 December 2019.
- ↑ "Конституція України". Офіційний вебпортал парламенту України (ภาษายูเครน). สืบค้นเมื่อ 2023-05-03.
- ↑ Автор. "Те, чого ніколи не було в Україні: Уряд затвердив адмінтерустрій базового рівня, що забезпечить повсюдність місцевого самоврядування". decentralization.gov.ua. สืบค้นเมื่อ 2022-10-20.
- ↑ Автор. "Децентралізація в Україні". decentralization.gov.ua. สืบค้นเมื่อ 2023-05-03.
- ↑ Magocsi, Paul Robert (2010). "The Cossack State, 1648–1711". History of Ukraine: The Land and Its Peoples (2nd ed.). Toronto: U of Toronto. p. 235. ISBN 978-1442610217. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-13. สืบค้นเมื่อ 2016-01-21.
- ↑ "Конституція Української Народньої Республіки (Статут про державний устрій, права і вільності УНР)". Офіційний вебпортал парламенту України (ภาษายูเครน). สืบค้นเมื่อ 2023-11-13.
- ↑ "Адміністративно-територіальний устрій України". ВУЕ (ภาษายูเครน). สืบค้นเมื่อ 2023-05-07.
- ↑ "Збірник законів та розпоряджень робітничо-селянського уряду України (1935–1936)". 2020-01-17. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 January 2020. สืบค้นเมื่อ 2023-05-07.
- ↑ "Ustawa Konstytucyjna z dnia 15 lipca 1920 r. zawierająca statut organiczny Województwa Śląskiego". isap.sejm.gov.pl. สืบค้นเมื่อ 2023-05-05.
External links
[แก้]- "Regions of Ukraine and their composition". Verkhovna Rada of Ukraine (ภาษายูเครน). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 December 2011. สืบค้นเมื่อ 25 December 2011.
- "Ukraine Raions". Statoids. สืบค้นเมื่อ 8 February 2012.
- "Ukrainian cities and regions in alphabetical order". UkraineTrek. สืบค้นเมื่อ 10 February 2012.
- "Administrative territorial composition of Ukraine" (PDF). Ministry of Regional Development, Construction, and Communal Living. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 24 August 2014. สืบค้นเมื่อ 5 April 2015.
แม่แบบ:Ukraine topics แม่แบบ:Administrative divisions of Ukraine แม่แบบ:Administrative divisions of Ukraine's regions แม่แบบ:Articles on first-level administrative divisions of European countries