ข้ามไปเนื้อหา

ประเทศญี่ปุ่นในโอลิมปิกฤดูร้อน 2020

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ประเทศญี่ปุ่น
ในโอลิมปิกฤดูร้อน 2020
รหัสประเทศJPN
เอ็นโอซีคณะกรรมการโอลิมปิกญี่ปุ่น
เว็บไซต์www.joc.or.jp (ในภาษาญี่ปุ่น)
โตเกียว ประเทศญี่ปุ่น
กรกฎาคม ค.ศ. 23 (23-07) – 8 สิงหาคม ค.ศ. 2021 (2021-08-08)
นักกีฬา556 คน (ชาย 295 คน / หญิง 261 คน) ใน 37 ชนิดกีฬา
ผู้เชิญธงชาติ (พิธีเปิด)รุอิ ฮาชิมูระ
ยูอิ ซูซากิ
ผู้เชิญธงชาติ (พิธีปิด)เรียว คิยูนะ
เหรียญ
อันดับ 3
ทอง
27
เงิน
14
ทองแดง
17
รวม
58
การเข้าร่วมแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน (ภาพรวม)

ประเทศญี่ปุ่น เป็นประเทศเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 ในโตเกียว ซึ่งเดิมกำหนดจัดขึ้นระหว่างวันที่ 24 กรกฎาคม ถึง 9 สิงหาคม 2020 แต่ได้เลื่อนออกไปเป็นวันที่ 23 กรกฎาคม ถึง 8 สิงหาคม 2021 เนื่องจากการระบาดทั่วของโควิด-19[1] นับตั้งแต่เปิดตัวอย่างเป็นทางการครั้งแรกในปี 1912 นักกีฬาญี่ปุ่นได้ปรากฏตัวในโอลิมปิกฤดูร้อนทุกครั้งในยุคปัจจุบัน ยกเว้นโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 ในลอนดอน ซึ่งไม่ได้รับเชิญเนื่องจากประเทศมีบทบาทในสงครามโลกครั้งที่สอง และโอลิมปิกฤดูร้อน 1980 ในมอสโก ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการคว่ำบาตรที่นำโดยสหรัฐอเมริกา ผู้เชิญธงชาติในพิธีเปิดคือนักบาสเก็ตบอล รุอิ ฮาชิมูระ และนักมวยปล้ำ ยูอิ ซูซากิ[2] นักคาราเต้ เรียว คิยูนะ เป็นผู้เชิญธงชาติในพิธีปิด[3]

ญี่ปุ่นคว้าเหรียญรางวัลได้ทั้งหมด 58 เหรียญ โดย 27 เหรียญเป็นเหรียญทอง ซึ่งถือเป็นผลงานที่ดีขึ้นอย่างมากเมื่อเทียบกับผลงานที่เคยทำไว้ก่อนหน้านี้ในโอลิมปิกปี 1964 (ที่โตเกียวเช่นกัน) และโอลิมปิกปี 2004 ซึ่งทำให้ญี่ปุ่นรั้งอันดับที่ 3 ของตารางเหรียญทอง (เป็นครั้งที่ 3 รองจากปี 1964 และ 1968) ตามหลังสหรัฐอเมริกาและจีน เมื่อพิจารณาจากเหรียญรางวัลทั้งหมดแล้ว ญี่ปุ่นยังตามหลังทีมนักกีฬารัสเซียและสหราชอาณาจักรอีกด้วย นับเป็นโอลิมปิกฤดูร้อนที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดในประวัติศาสตร์ของญี่ปุ่น

ผู้ที่ได้รับเหรียญรางวัล

[แก้]
เหรียญ ชื่อ กีฬา รายการ วันที่
 ทอง นาโอฮิสะ ทาคาโตะ ยูโด 60 กก. ชาย 24 ก.ค.
 ทอง ยูอิ โอฮาชิ ว่ายน้ำ เดี่ยวผสม 400 เมตร หญิง 25 ก.ค.
 ทอง ยูโตะ โฮริโกเมะ สเกตบอร์ด สตรีท ชาย 25 ก.ค.
 ทอง อุตะ อาเบะ ยูโด 52 กก. หญิง 25 ก.ค.
 ทอง ฮิฟูมิ อาเบะ ยูโด 66 กก. ชาย 25 ก.ค.
 ทอง โมมิจิ นิชิยะ สเกตบอร์ด สตรีท หญิง 26 ก.ค.
 ทอง โชเฮ โอโนะ ยูโด 73 กก. ชาย 26 ก.ค.
 ทอง จุน มิซูทานิ
มิมะ อิโตะ
เทเบิลเทนนิส คู่ผสม 26 ก.ค.
 ทอง ทาคาโนริ นากาเสะ ยูโด 81 กก. ชาย 27 ก.ค.
 ทอง ยามาโตะ ฟูจิตะ
ยูกิโกะ อุเอโนะ
โนโซมิ โงโตะ
ยูกิโยะ มิเนะ
นายู คิโยฮาระ
ฮารุกะ อากัตสึมะ
ยูกะ อิจิกุจิ
ยู ยามาโมโตะ
ฮิโตมิ คาวาบาตะ
มานะ อัตสึมิ
มิโนริ ไนโตะ
ซากิ ยามาซากิ
โนโดกะ ฮาราดะ
ซายากะ โมริ
อีริ ยามาดะ
ซอฟท์บอล ทีมหญิง 27 ก.ค.
 ทอง ยูอิ โอฮาชิ ว่ายน้ำ เดี่ยวผสม 200 เมตร หญิง 28 ก.ค.
 ทอง ชิซูรุ อาไร ยูโด 70 กก. หญิง 28 ก.ค.
 ทอง ไดกิ ฮาชิโมโตะ ยิมนาสติก รวมอุปกรณ์ บุคคลชาย 28 ก.ค.
 ทอง โชริ ฮามาดะ ยูโด 78 กก. หญิง 29 ก.ค.
 ทอง แอรอน วูล์ฟ ยูโด 100 กก. ชาย 29 ก.ค.
 ทอง อะคิระ โซเนะ ยูโด +78 กก. หญิง 30 ก.ค.
 ทอง โคกิ คาโนะ
คาซึยาซึ มิโนเบะ
ซาโตรุ อูยามะ
มาซารุ ยามาดะ
ฟันดาบ เอเป้ ทีมชาย 30 ก.ค.
 ทอง เซนะ อิริเอะ มวยสากลสมัครเล่น เฟเธอร์เวทหญิง 3 ส.ค.
 ทอง ไดกิ ฮาชิโมโตะ ยิมนาสติก บาร์เดี่ยว ชาย 3 ส.ค.
 ทอง ซากุระ โยโซซุมิ สเกตบอร์ด พาร์ก หญิง 4 ส.ค.
 ทอง ยูกาโกะ คาวาอิ มวยปล้ำ ฟรีสไตล์ 62 กก. หญิง 4 ส.ค.
 ทอง ริซาโกะ คาวาอิ มวยปล้ำ ฟรีสไตล์ 57 กก. หญิง 5 ส.ค.
 ทอง เรียว คิยูนะ คาราเต้ คาตะ ชาย 6 ส.ค.
 ทอง มายุ มูไกดะ มวยปล้ำ ฟรีสไตล์ 53 กก. หญิง 6 ส.ค.
 ทอง ทากูโตะ โอโตกูโระ มวยปล้ำ ฟรีสไตล์ 65 กก. ชาย 7 ส.ค.
 ทอง ยูอิ ซูซากิ มวยปล้ำ ฟรีสไตล์ 50 กก. หญิง 7 ส.ค.
 ทอง โคโยะ อาโอยากิ
ซุกุรุ อิวาซากิ
มาซาโตะ โมริชิตะ
ฮิโรมิ อิโตะ
โยะชิโนะบุ ยามาโมโตะ
มาซาฮิโระ ทานากะ
ยาซูอากิ ยามาซากิ
เรียวจิ คูริบายาชิ
ยูได โอโนะ
โคได เซ็งงะ
ไคมะ ไทระ
เรียวทาโร่ อุเมโนะ
ทาคุยะ ไค
เท็ตสึโตะ ยามาดะ
โซซุเกะ เก็นดะ
ฮิเดโตะ อาซามูระ
เรียวสุเกะ คิคุจิ
ฮายาโตะ ซากาโมโตะ
มูเนตากะ มูรากามิ
เคนสุเกะ คอนโดะ
ยูกิ ยานากิตะ
เรียวยะ คูริฮาระ
มาซาตากะ โยชิดะ
เซยะ ซูซูกิ
อัตสึโนริ อินาบะ
มาโกโตะ คาเนโกะ
โยชิโนริ ทาเตยามะ
โยชิโนริ มูราตะ
ฮิโรคาสุ อิบาตะ
มาซาฮารุ ชิมิสึ
เบสบอล ทีมชาย 7 ส.ค.
 เงิน ฟูนะ โทนากิ ยูโด 48 กก. หญิง 24 ก.ค.
 เงิน ไดกิ ฮาชิโมโตะ
คาซึมะ คายะ
ทาเกรุ คิตาโซโนะ
วาตารุ ทานิงาวะ
ยิมนาสติก รวมอุปกรณ์ ทีมชาย 26 ก.ค.
 เงิน คาโนอะ อิการาชิ โต้คลื่น กระดานสั้น ชาย 27 ก.ค.
 เงิน โทโมรุ ฮนดะ ว่ายน้ำ ผีเสื้อ 200 เมตร ชาย 28 ก.ค.
 เงิน ฮิฟูมิ อาเบะ
อุตะ อาเบะ
ชิซูรุ อาไร
โชริ ฮามาดะ
ฮิซาโยชิ ฮาราซาวะ
โชอิจิโร่ มุไค
ทาคาโนริ นากาเสะ
โชเฮ โอโนะ
อะคิระ โซเนะ
มิกุ ทาชิโร่
แอรอน วูล์ฟ
สึคาสะ โยชิดะ
ยูโด ทีมผสม 31 ก.ค.
 เงิน เคนอิจิโร ฟูมิตะ มวยปล้ำ กรีก-โรมัน 60 กก. ชาย 2 ส.ค.
 เงิน โคโกนะ ฮิรากิ สเกตบอร์ด พาร์ก หญิง 4 ส.ค.
 เงิน โคกิ อิเกดะ กรีฑา 20 กิโลเมตร ชาย 5 ส.ค.
 เงิน คิโย ชิมิซุ คาราเต้ คาตะ หญิง 5 ส.ค.
 เงิน มิอุ ฮิราโนะ
คาซูมิ อิชิกาว่า
มิมะ อิโตะ
เทเบิลเทนนิส ทีมหญิง 5 ส.ค.
 เงิน มิโฮะ โนนากะ ปีนหน้าผา ผสม บุคคลหญิง 6 ส.ค.
 เงิน โมเนะ อินามิ กอล์ฟ บุคคลหญิง 7 ส.ค.
 เงิน โมเอะโกะ นางาโอกะ
มากิ ทาคาดะ
นาโฮะ มิโยชิ
รุอิ มะชิดะ
นาโกะ โมโตฮาชิ
นานาโกะ โทโด
ซากิ ฮายาชิ
เอเวลิน มาวูลี
ซาโอริ มิยาซากิ
ยูกิ มิยาซาวะ
ฮิมาวาริ อากาโฮะ
โมนิกะ โอโกเยะ
บาสเกตบอล ทีมหญิง 8 ส.ค.
 เงิน ยูมิ คาจิฮาระ จักรยาน ออมเนียม หญิง 8 ส.ค.
 ทองแดง ฟูนะ นากายามะ สเกตบอร์ด สตรีท หญิง 26 ก.ค.
 ทองแดง ทากาฮารุ ฟูรูคาวะ
ฮิโรกิ มุโตะ
ยูกิ คาวาตะ
ยิงธนู ทีมชาย 26 ก.ค.
 ทองแดง สึคาสะ โยชิดะ ยูโด 57 กก. หญิง 26 ก.ค.
 ทองแดง อามูโระ สึซูกิ โต้คลื่น กระดานสั้น หญิง 27 ก.ค.
 ทองแดง มิกิโกะ อันโด ยกน้ำหนัก 59 กก. หญิง 27 ก.ค.
 ทองแดง มิมะ อิโตะ เทเบิลเทนนิส หญิงเดี่ยว 29 ก.ค.
 ทองแดง ยูตะ วาตานาเบะ
อาริสะ ฮิงาชิโนะ
แบดมินตัน คู่ผสม 30 ก.ค.
 ทองแดง ทากาฮารุ ฟูรูคาวะ ยิงธนู ชายเดี่ยว 31 ก.ค.
 ทองแดง คาซึมะ คายะ ยิมนาสติก ม้าหู ชาย 1 ส.ค.
 ทองแดง ไม มุราคามิ ยิมนาสติก ฟลอร์เอ็กเซอร์ไซส์ หญิง 2 ส.ค.
 ทองแดง โชเฮ ยาบิกุ มวยปล้ำ กรีก-โรมัน 77 กก. ชาย 3 ส.ค.
 ทองแดง สึกิมิ นามิกิ มวยสากลสมัครเล่น ฟลายเวทหญิง 4 ส.ค.
 ทองแดง เรียวเม ทานากะ มวยสากลสมัครเล่น ฟลายเวทชาย 5 ส.ค.
 ทองแดง โทชิคาซุ ยามานิชิ กรีฑา 20 กิโลเมตร ชาย 5 ส.ค.
 ทองแดง จุน มิซึทานิ
โคกิ นิวะ
โตโมกาซู ฮาริโมโตะ
เทเบิลเทนนิส ทีมชาย 6 ส.ค.
 ทองแดง อากิโยะ โนงูชี ปีนหน้าผา ผสม บุคคลหญิง 6 ส.ค.
 ทองแดง เรียวทาโร่ อารางะ คาราเต้ +75 กก. ชาย 7 ส.ค.

จำนวนนักกีฬา

[แก้]

ต่อไปนี้คือรายชื่อผู้เข้าแข่งขันในกีฬานี้ โปรดทราบว่าตัวสำรองในกีฬาฮอกกี้ ฟุตบอล และแฮนด์บอลจะไม่นับรวม:

กีฬา ชาย หญิง รวม
ยิงธนู 3 3 6
ระบำใต้น้ำ 9 9
กรีฑา 41 9 50
แบดมินตัน 6 7 13
เบสบอล 24 24
บาสเกตบอล 12 16 28
มวยสากลสมัครเล่น 4 2 6
เรือแคนู 7 5 12
จักรยาน 6 7 13
กระโดดน้ำ 4 4 8
ขี่ม้า 9 0 9
ฟันดาบ 12 9 21
ฮอกกี้ 16 16 32
ฟุตบอล 18 18 36
กอล์ฟ 2 2 4
ยิมนาสติก 5 12 17
แฮนด์บอล 14 14 28
ยูโด 7 7 14
คาราเต้ 4 4 8
ปัญจกีฬาสมัยใหม่ 1 2 3
รักบี้ 7 คน 12 12 24
เรือใบ 8 7 15
ยิงปืน 6 6 12
สเกตบอร์ด 4 6 10
ซอฟท์บอล 15 15
ปีนหน้าผา 2 2 4
โต้คลื่น 2 2 4
ว่ายน้ำ 18 17 35
เทเบิลเทนนิส 3 3 6
เทควันโด 2 2 4
เทนนิส 4 5 9
ไตรกีฬา 2 2 4
วอลเลย์บอล 14 14 28
โปโลน้ำ 13 13 26
ยกน้ำหนัก 4 3 7
มวยปล้ำ 6 6 12
รวม 295 261 556

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Joint Statement from the International Olympic Committee and the Tokyo 2020 Organising Committee". Olympics. 24 March 2020. สืบค้นเมื่อ 28 March 2020.
  2. "Rui Hachimura, Yui Susaki named flagbearers for Japan's Olympic team". Kyodo News. 5 July 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 July 2021. สืบค้นเมื่อ 5 July 2021.
  3. "The flagbearers for the Tokyo 2020 Closing Ceremony". Olympics.com. 8 August 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 August 2021. สืบค้นเมื่อ 8 August 2021.{{cite web}}: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์)