พ.ศ. 2538
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก ค.ศ. 1995)
ศตวรรษ: | |
---|---|
ปี: |
ปฏิทินสุริยคติไทย | 2538 |
ปฏิทินกริกอเรียน | 1995 MCMXCV |
Ab urbe condita | 2748 |
ปฏิทินอาร์มีเนีย | 1444 ԹՎ ՌՆԽԴ |
ปฏิทินอัสซีเรีย | 6745 |
ปฏิทินบาไฮ | 151–152 |
ปฏิทินเบงกอล | 1402 |
ปฏิทินเบอร์เบอร์ | 2945 |
ปีในรัชกาลอังกฤษ | 43 Eliz. 2 – 44 Eliz. 2 |
พุทธศักราช | 2539 |
ปฏิทินพม่า | 1357 |
ปฏิทินไบแซนไทน์ | 7503–7504 |
ปฏิทินจีน | 甲戌年 (จอธาตุไม้) 4691 หรือ 4631 — ถึง — 乙亥年 (กุนธาตุไม้) 4692 หรือ 4632 |
ปฏิทินคอปติก | 1711–1712 |
ปฏิทินดิสคอร์เดีย | 3161 |
ปฏิทินเอธิโอเปีย | 1987–1988 |
ปฏิทินฮีบรู | 5755–5756 |
ปฏิทินฮินดู | |
- วิกรมสมวัต | 2051–2052 |
- ศกสมวัต | 1917–1918 |
- กลียุค | 5096–5097 |
ปฏิทินโฮโลซีน | 11995 |
ปฏิทินอิกโบ | 995–996 |
ปฏิทินอิหร่าน | 1373–1374 |
ปฏิทินอิสลาม | 1415–1416 |
ปฏิทินญี่ปุ่น | ศักราชเฮเซ 7 (平成7年) |
ปฏิทินจูเช | 84 |
ปฏิทินจูเลียน | กริกอเรียนลบ 13 วัน |
ปฏิทินเกาหลี | 4328 |
ปฏิทินหมินกั๋ว | ROC 84 民國84年 |
เวลายูนิกซ์ | 788918400–820454399 |
พุทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น
- ปีกุน สัปตศก จุลศักราช 1357 (วันที่ 16 เมษายน เป็นวันเถลิงศก)
ผู้นำประเทศไทย
[แก้]- พระมหากษัตริย์: พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559)
- นายกรัฐมนตรี
เหตุการณ์
[แก้]มกราคม
[แก้]- 17 มกราคม – เกิดแผ่นดินไหวแมกนิจูด 7.2 ใกล้เมืองโคเบะ ประเทศญี่ปุ่น ทำให้มีผู้เสียชีวิตมากกว่า 6,000 คน และเกิดความเสียหายต่อทรัพย์สินเป็นมูลค่ากว่า 100,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
มีนาคม
[แก้]- 20 มีนาคม – ลัทธิโอมชินริเกียวก่อวินาศกรรม โดยการปล่อยแก๊สพิษซารินในรถไฟใต้ดิน กรุงโตเกียว ทำให้มีผู้เสียชีวิต 12 คน บาดเจ็บมากกว่า 6,000 คน
- 25 มีนาคม – วอร์ด คันนิงแฮมก่อตั้งคลังแบบรูปพอร์ตแลนด์เป็นวิกิแห่งแรก
เมษายน
[แก้]- 19 เมษายน – การวางระเบิดในนครโอกลาโฮมา ซึ่งเป็นการก่อการร้ายโดยคนในประเทศครั้งร้ายแรงที่สุดในประวัติศาสตร์สหรัฐ เกิดขึ้น ทำให้มีผู้เสียชีวิต 168 คน
- 30 เมษายน - วันก่อตั้งรัฐบาลเวียดนามอิสระ
พฤษภาคม
[แก้]- 17 พฤษภาคม – หลังจากดำรงตำแหน่งเป็นนายกเทศมนตรีอยู่ 18 ปี ฌัก ชีรัก ได้รับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีฝรั่งเศส
มิถุนายน
[แก้]- 5 มิถุนายน – นักฟิสิกส์สังเคราะห์ของเหลวผลควบแน่นโบส-ไอน์สไตน์ ซึ่งเป็นสถานะใหม่ของสสารได้เป็นครั้งแรก
- 14 มิถุนายน – เหตุการณ์โป๊ะล่มที่ท่าน้ำพรานนก ทำให้มีผู้เสียชีวิต 29 คน
- 29 มิถุนายน -
- กระสวยอวกาศ แอตแลนติส เชื่อมต่อกับสถานีอวกาศมีร์ของรัสเซียเป็นครั้งแรก
- พรรคมอญใหม่ลงนามหยุดยิงกับรัฐบาลทหารพม่า
- ห้างซัมพุง (Sampoong) ในเกาหลีใต้ถล่ม ทำให้พนักงานห้างและลูกค้าเสียชีวิตรวม 507 คน บาดเจ็บกว่า 900 คน
กรกฎาคม
[แก้]- 2 กรกฎาคม – การเลือกตั้งในประเทศไทยครั้งที่ 20 ผลการเลือกตั้ง พรรคชาติไทยได้คะแนนมาเป็นอันดับหนึ่ง นายบรรหาร ศิลปอาชาหัวหน้าพรรค ได้เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 21 ของไทย
- 21 กรกฎาคม – วิกฤติช่องแคบไต้หวันครั้งที่ 3 เริ่มขึ้นเมื่อจีนยิงขีปนาวุธสู่ทะเลทางทิศเหนือของไต้หวัน
สิงหาคม
[แก้]- 21 สิงหาคม - กลุ่มฮามาสวางระเบิดในกรุงเยรูซาเลม มีผู้เสียชีวิต 6 คน
- 24 สิงหาคม – ไมโครซอฟท์วางจำหน่ายวินโดวส์ 95
กันยายน
[แก้]ตุลาคม
[แก้]- 6 ตุลาคม – วารสาร เนเจอร์ เผยแพร่รายงานการค้นพบดาวเคราะห์โคจรรอบดาว 51 ม้าบิน นับเป็นดาวเคราะห์นอกระบบดวงแรกของดาวฤกษ์ในแถบลำดับหลัก
- 24 ตุลาคม เกิดสุริยุปราคาเต็มดวง[1]
- 30 ตุลาคม – ผลการลงประชามติแยกรัฐเกแบ็กเป็นเอกราช ปรากฏว่า 50.6% ของผู้มีสิทธิ์เลือกตั้งออกเสียงให้รัฐเกแบ็กยังเป็นส่วนหนึ่งของประเทศแคนาดา
พฤศจิกายน
[แก้]- 22 พฤศจิกายน – การ์ตูนที่สร้างด้วยคอมพิวเตอร์ล้วน โดยพิกซาร์ จากประเทศสหรัฐอเมริกา เรื่องแรก "ทอย สตอรี่" ออกฉาย
ธันวาคม
[แก้]- 7 ธันวาคม – ยานกาลิเลโอขององค์การนาซาถึงดาวพฤหัสบดี หลังจากใช้เวลาเดินทางในอวกาศกว่า 6 ปี
- 20 ธันวาคม – องค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ (นาโต) เริ่มภารกิจรักษาสันติภาพในบอสเนีย
- 31 ธันวาคม - กองทัพเมิงไตของขุนส่าประกาศหยุดยิงกับรัฐบาลทหารพม่า
วันเกิด
[แก้]มกราคม
[แก้]- 3 มกราคม - จีซู ศิลปินเกาหลีใต้
- 4 มกราคม - กายา กรอแบ็ลนา-นักวอลเลย์บอลชาวเบลเยียม
กุมภาพันธ์
[แก้]- 2 กุมภาพันธ์ - การอล ลีแนตตือ - นักฟุตบอลชาวโปแลนด์
มีนาคม
[แก้]- 1 มีนาคม - เก็นตะ มิอูระ นักฟุตบอลชาวญี่ปุ่น
- 5 มีนาคม - สวีข่าย นักแสดงชาวจีน
- 18 มีนาคม - เจณิสตา พรหมผดุงชีพ (เจนิส) นักแสดงหญิงชาวไทย
- 25 มีนาคม - การ์ลุส วีนีซียุส นักฟุตบอลชาวบราซิล
เมษายน
[แก้]- 15 เมษายน - คิม นัม-จู นักร้องชาวเกาหลีใต้
- 25 เมษายน - เคห์ลานี นักร้องชาวอเมริกัน
- 29 เมษายน
- สุภัสสรา ธนชาต นักแสดงชาวไทย
- จ้าว เยว่ นักร้องชาวจีน
พฤษภาคม
[แก้]- 24 พฤษภาคม - เจ้าชายโยเซ็ฟ เว็นท์เซิล แห่งลีชเทินชไตน์
- 25 พฤษภาคม - โฆเซ กายา นักฟุตบอลชาวสเปน
มิถุนายน
[แก้]- 5 มิถุนายน – ทรอย ซีวาน นักแสดง นักร้องชาวแอฟริกาใต้
- 15 มิถุนายน – โคเซ ทานากะ นักมวยสากลชาวญี่ปุ่น
กรกฎาคม
[แก้]- 9 กรกฎาคม
- จอร์จี เฮนเลย์ นักแสดงชาวอังกฤษ
- ซันโดร รามีเรซ นักฟุตบอลชาวสเปน
สิงหาคม
[แก้]- 4 สิงหาคม - เจมส์ เวียร์ นักฟุตบอลชาวอังกฤษ
- 8 สิงหาคม - เนติพร เสน่ห์สังคม นักกิจกรรมเคลื่อนไหวทางการเมืองชาวไทย (ถึงแก่กรรม 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2567)
กันยายน
[แก้]ตุลาคม
[แก้]- 11 ตุลาคม -เจ้าหญิงลุยซา มาเรียแห่งเบลเยียม อาร์ชดัชเชสแห่งออสเตรีย-เอสเต
- 13 ตุลาคม - จีมิน ศิลปินชาวเกาหลีใต้
- 18 ตุลาคม - รัชนก สุวรรณเกตุ (เจนนี่) นักร้องชาวไทย
- 21 ตุลาคม - โดจา แคต นักร้องนักแต่งเพลงชาวอเมริกัน
- 26 ตุลาคม - ยูตะ นากาโมโตะ ศิลปินชาวเกาหลีใต้
- 29 ตุลาคม - จิรายุ ละอองมณี (เก้า) นักแสดงและนักร้องชาวไทย
พฤศจิกายน
[แก้]- 12 พฤศจิกายน - นานาโวะ อะคาริ นักร้องป๊อปและยูทูเบอร์หญิงชาวญี่ปุ่น
- 26 พฤศจิกายน - รินะ อิซึตะ นักร้องชาวญี่ปุ่น
ธันวาคม
[แก้]- 1 ธันวาคม - เจมส์ วิลสัน นักฟุตบอลชาวอังกฤษ
- 2 ธันวาคม - แคลวิน ฟิลลิปส์ นักฟุตบอลชาวอังกฤษ
- 26 ธันวาคม - กาซีนี กานาโดส นางแบบชาวฟิลิปปินส์
- 30 ธันวาคม - วี ศิลปินชาวเกาหลีใต้
วันถึงแก่กรรม
[แก้]- 5 กุมภาพันธ์ - พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล (ประสูติ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2453)
- 28 กุมภาพันธ์ - สุนีรัตน์ เตลาน นักการเมืองชาวไทย (เกิด 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2463)
- 31 มีนาคม - เซเลนา นักร้องชาวอเมริกัน (เกิด 16 เมษายน พ.ศ. 2514)
- 8 พฤษภาคม - เติ้ง ลี่จวิน นักร้องชาวไต้หวัน (เกิด 29 มกราคม พ.ศ. 2496)
- 18 กรกฎาคม - สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (เสด็จพระราชสมภพ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2443)
- 21 สิงหาคม - สุพรหมัณยัน จันทรเศขร นักฟิสิกส์ดาราศาสตร์ชาวอินเดีย-อเมริกัน (เกิด 19 ตุลาคม พ.ศ. 2453)
- 27 สิงหาคม - หม่อมเจ้าฐิติพันธุ์ ยุคล (ประสูติ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2478)
- 25 สิงหาคม - เจ้าหญิงเซ็ตสึโกะ พระชายาในเจ้าชายยาซูฮิโตะ (ประสูติ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2452)
- 9 ตุลาคม - หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช (เกิด 20 เมษายน พ.ศ. 2454)
รางวัล
[แก้]- สาขาเคมี – Paul J. Crutzen, Mario J. Molina, F. Sherwood Rowland
- สาขาวรรณกรรม – ซีมุส ฮีนีย์
- สาขาสันติภาพ – Joseph Rotblat, Pugwash Conferences on Science and World Affairs
- สาขาฟิสิกส์ – Martin Lewis Perl, Frederick Reines
- สาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ – เอ็ดเวิร์ด บี. ลิวอิส, คริสเตียน นึสชลีน-โวลฮาร์ด, อีริค เอฟ. ไวส์ชาวส์
- สาขาเศรษฐศาสตร์ – Robert Lucas Jr.
บันเทิงคดีที่อ้างถึงปีนี้
[แก้]ภาพยนตร์
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ Total Solar Eclipse of 1995 Oct 24
- ↑ "ใบเฟิร์น ขอเป็นเจ๊ดัน แจ้งเกิดพระเอก เนตั้น ในหนังรักสุดแนว 2538 อัลเทอร์มาจีบ". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-02-09. สืบค้นเมื่อ 2015-03-23.
- ↑ 2538 อัลเทรอ์มาจีบ ชวนสัมผัสความรักฉบับย้อนยุค 2538
- ↑ "เตรียมพบตัวอย่างหนังรักที่จะพาคุณโดด ไปพร้อมกับจังหวะรักแบบอัลเทอร์ ใน "2538 อัลเทอร์มาจีบ"". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-09-26. สืบค้นเมื่อ 2015-03-23.