อิหร่านกอญัร เป็นรัฐอิหร่านที่ปกครองโดยราชวงศ์กอญัรระหว่างปี ค.ศ. 1785–1925 โดยชาห์พระองค์แรกของราชวงศ์มีพระนามว่าพระเจ้าชาห์โมฮัมหมัด ข่าน กอญัรเสด็จขึ้นพระราชสมบัติเมื่อปี ค.ศ. 1789 ต่อมาภายหลังราชวงศ์กอญัรถูกโค่นล้มในการยึดอำนาจโดยเรซาข่านในปี ค.ศ. 1925

รัฐอิหร่านอันเลอเลิศ

دولت علیّه ایران
Dowlat-e Aliyye-ye Irān
ค.ศ. 1785–1925
ธงชาติราชวงศ์กอญัร
ธงชาติ (1906–1925)
เพลงชาติ(1873–1909)
Salâm-e Shâh
(สดุดีราชัน)

(1909–1925)
Salāmati-ye Dowlat-e Elliye-ye Irān
(สดุดีรัฐอิหร่านอันเลอเลิศ)
แผนที่ราชวงศ์กอญัรในยุคศตวรรษที่ 19
แผนที่ราชวงศ์กอญัรในยุคศตวรรษที่ 19
เมืองหลวงเตหะราน
ภาษาทั่วไปภาษาเปอร์เซีย
ภาษาอาเซอร์ไบจาน
การปกครอง
ชาฮันชาห์ 
• 1789–1797
พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด ข่าน กอญัร (พระองค์แรก)
• 1909–1925
พระเจ้าชาห์ อะห์หมัด ชาห์ กอญัร (พระองค์สุดท้าย)
นายกรัฐมนตรี 
• 1906
Mirza Nasrullah Khan (คนแรก)
• 1923–1925
เรซา ปาห์ลาวี (คนสุดท้าย)
ประวัติศาสตร์ 
• สถาปนา
ค.ศ. 1785
5 สิงหาคม ค.ศ. 1906
• ปลดสภาร่างรัฐธรรมนูญ
31 ตุลาคม ค.ศ. 1925
สกุลเงินโตมัน (1789–1825)
ควิราน (1825–1925) [1]
ก่อนหน้า
ถัดไป
ราชวงศ์แซนด์
ราชวงศ์อาฟชาริยะห์
จักรวรรดิดุรรานี
อิหร่านปาห์ลาวี
จักรวรรดิรัสเซีย
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ อาร์มีเนีย
 อาเซอร์ไบจาน
 จอร์เจีย
 อิหร่าน
 อิรัก
 รัสเซีย
 เติร์กเมนิสถาน
 ตุรกี
 ปากีสถาน
 อัฟกานิสถาน

ปฐมบท

แก้

ราชวงศ์กอญัรเป็นราชวงศ์ที่ยิ่งใหญ่ในยุคใหม่ และเป็นยุคที่นิกายชีอะห์ในอิหร่านอ่อนแอ

การก่อตั้งราชวงศ์

แก้

ราชวงศ์กอญัรใน ค.ศ. 1789 ปีที่มีพระเจ้าชาห์โมฮัมหมัด ข่าน กอญัร ขึ้นเป็นชาฮันชาห์แห่งราชวงศ์กอญัรพระองค์แรก

การบุกยึดจอร์เจีย และ ดินแดนคอเคซัส

แก้
 
การยึดกรุงTbilisi วาดโดย อัคฮา โมฮัมเม็ด ข่าน. ภาพจากBritish Library.

ภายหลังจากการเสด็จสวรรคตของชาห์นาเดอร์ อาณาจักร Kartli และ Kakheti ได้ปลดแอกจากการปกครองของชาวอิหร่าน และรวมตัวเป็นราชอาณาจักร Kartli-Kakheti ภายใต้การปกครองของกษัตริย์นาม Heraclius II (Erekle II) ในปี 1762 ซึ่งระหว่างปี 1747 ถึง 1795 Erekle สามารถรักษาเอกราชไว้ได้ตลอดยุคของราชวงศ์แซนด์ เนื่องจากเกิดความวุ่นวายภายในอิหร่าน[2] ต่อมาในปี 1783 Heraclius ได้นำอาณาจักรของพระองค์เข้าเป็นรัฐในอารักขาของจักรวรรดิรัสเซียโดยสนธิสัญญา Georgievsk ในช่วงทศวรรษท้ายๆของศตวรรษที่ 18 จอร์เจียได้กลายเป็นตัวแปรสำคัญของความสัมพันธ์ระหว่างรัสเซียและอิหร่าน ไม่เหมือนในรัชสมัยของปีเตอร์มหาราช แคทเธอรีนมหาราชินี ผู้ปกครองรัสเซียในเวลาต่อมา มองจอร์เจียเป็นจุดยุทธศาสตร์สำหรับนโยบายในภูมิภาคคอเคซัสของพระนาง และใช้จอร์เจียเป็นฐานปฏิบัติการต่อต้านอิหร่านและจักรวรรดิออตโตมัน[3] ซึ่งทั้งคู่เป็นคู่แข่งทางภูมิรัฐศาสตร์ที่มีชายแดนติดต่อกับรัสเซียโดยตรง ยิ่งไปกว่านั้น เป็นแนวคิดที่ดีหากจะมีท่าเรือเพิ่มบนชายฝั่งจอร์เจียซึ่งติดต่อทะเลดำ[4] กองทหารรักษาการณ์ของรัสเซียจำนวนสองกองพัน พร้อมด้วยปืนใหญ่สี่กระบอก ยาตราเข้าสู่เมืองทบิลีซีในปี 1784[2] แต่ก็ได้ถอนทัพออก เนื่องจากการประท้วงอย่างรุนแรงของชาวจอร์เจียน เมื่อรัสเซียก่อสงครามต่อจักรวรรดิออตโตมันในปี 1787 ก็ได้เริ่มบุกจากแนวหน้าที่อื่น[2]

การปฏิวัติรัฐธรรมนูญ

แก้
 
พระฉายาลักษณ์ของพระเจ้าชาห์นัสเซอร์ อัลดิน ชาห์ กอญัร ปรากฏบนธนบัตรราคา 1 ควิราน.

การล่มสลายของราชวงศ์

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. علی‌اصغر شمیم، ایران در دوره سلطنت قاجار، ته‍ران‌: انتشارات علمی، ۱۳۷۱، ص ۲۸۷
  2. 2.0 2.1 2.2 Fisher et al. 1991, p. 328.
  3. Mikaberidze 2011, p. 327.
  4. Fisher et al. 1991, p. 327.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้