ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยาโรสลัฟล์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.9.5
 
(ไม่แสดง 28 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 17 คน)
บรรทัด 1:
{{ปรับภาษา}}
{{redirect|ยารอสลัฟล์}}
 
{{Coord|57|37|N|39|51|E|display=title}}
 
{{Infobox settlement
| name = ยาโรสลาฟล์ลัฟล์
| native_name = Ярославль
| native_name_lang = ru
บรรทัดที่ 12 ⟶ 10:
| image_alt =
| image_map = Map_of_Russia_-_Yaroslavl_Oblast_(2008-03).svg
| map_caption = แผนที่แสดงอาณาเขตของเมืองยาโรสลาฟล์ลัฟล์
| image_flag = Flag_of_YaroslavlFlag of Yaroslavl.pngsvg
| image_coat = Coat_of_Arms_of_Yaroslavl_(1995).png
| coordinates_type = type:adm1st_region:KH
| coordinates_display = title
บรรทัดที่ 21 ⟶ 19:
| subdivision_name = {{flag|รัสเซีย}}
| established_title =
| established_date = ค.ศ. 1010
| named_for =
| seat_type = เขตการปกครอง
บรรทัดที่ 27 ⟶ 25:
| leader_party =
| leader_title = นายกเทศมนตรี
| leader_name = Aleksandr Nechayev (รักษาการณ์)
| area_footnotes =
| area_total_km2 = 205.8<ref name="SochiYaro">{{cite web|url=http://torchrelay.sochi2014.com/en/city-yaroslavl|title=Day 13:Yaroslavl|publisher=Sochi Olympic Torch Relay website}}</ref>
บรรทัดที่ 36 ⟶ 34:
| population_footnotes =
| population_total = 591,486
| population_as_of = การสำรวจสำมะโนประชากร ค.ศ. 2010
| population_density_km2 =
| population_demonym =
บรรทัดที่ 48 ⟶ 46:
| footnotes =
}}
'''ยาโรสลาฟล์ลัฟล์''' ({{lang-langx|en|Yaroslavl}} {{lang-langx|ru|Ярославль}}) เป็นเมืองเอกศูนย์กลางการปกครองหลักของเขตปกครองย่อย '''[[แคว้นยาโรสลาฟโอบลาสต์ลัฟล์]]''' ({{lang-en|Yaroslavl Oblast}} {{lang-ru|Яросла́вская о́бласть}}) ใน[[ประเทศรัสเซีย]] ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือห่างจาก[[กรุงมอสโก]]ไปราว 258 กิโลเมตร โดยมี[[แม่น้ำวอลกา]]ไหลผ่านกลางเมือง มีประชากรราวๆราว ๆ เกือบหกแสนคนและนับเป็นเมืองใหญ่ที่มีประชากรเยอะที่สุดในกลุ่มเมืองที่ตั้งอยู่ริมแม่น้ำวอลกาตอนบนก่อนจะถึงเมืองนิซนีนอฟโกรอด มีชื่อเสียงในด้านการเป็นเมืองวัฒนธรรม เมืองท่องเที่ยว และเคยเป็นเมืองท่าค้าขายทางน้ำรวมถึงเป็นฐานอุตสาหกรรมที่สำคัญของประเทศรัสเซียในอดีต
 
ยาโรสลาฟล์ลัฟล์นั้นถือเป็นหนึ่งในเมืองที่เก่าแก่ที่สุดของรัสเซีย ได้รับการบันทึกการก่อตั้งตั้งแต่ในสมัยของ[[จักรวรรดิรุสเคียฟ|เคียฟรุส]] ในปี พ.ศ. 1553 (ค.ศ. 1010) และเมื่อปี พ.ศ. 2553 (ค.ศ. 2010) ก็ได้มีการจัดการฉลองอายุครบหนึ่งพันปีของเมือง<ref name="news1000">{{cite web|url=http://www.telegraph.co.uk/sponsored/rbth/features/8052722/Yaroslavl-A-cultural-centre-in-Russia-celebrates-1000-years-of-history.html|title=Yaroslavl: A cultural centre in Russia celebrates 1000 years of history|publisher=The Telegraph}}</ref>
 
 
'''ยาโรสลาฟล์''' ({{lang-en|Yaroslavl}} {{lang-ru|Ярославль}}) เป็นเมืองเอกศูนย์กลางการปกครองของเขตปกครองย่อย '''[[ยาโรสลาฟโอบลาสต์]]''' ({{lang-en|Yaroslavl Oblast}} {{lang-ru|Яросла́вская о́бласть}}) ใน[[ประเทศรัสเซีย]] ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือห่างจาก[[กรุงมอสโก]]ไปราว 258 กิโลเมตร โดยมี[[แม่น้ำวอลกา]]ไหลผ่านกลางเมือง มีประชากรราวๆเกือบหกแสนคนและนับเป็นเมืองใหญ่ที่มีประชากรเยอะที่สุดในกลุ่มเมืองที่ตั้งอยู่ริมแม่น้ำวอลกาตอนบนก่อนจะถึงเมืองนิซนีนอฟโกรอด มีชื่อเสียงในด้านการเป็นเมืองวัฒนธรรม เมืองท่องเที่ยว และเคยเป็นเมืองท่าค้าขายทางน้ำรวมถึงเป็นฐานอุตสาหกรรมที่สำคัญของประเทศรัสเซียในอดีต
 
ยาโรสลาฟล์นั้นถือเป็นหนึ่งในเมืองที่เก่าแก่ที่สุดของรัสเซีย ได้รับการบันทึกการก่อตั้งตั้งแต่ในสมัยของ[[เคียฟรุส]] ในปี พ.ศ. 1553 (ค.ศ. 1010) และเมื่อปี พ.ศ. 2553 (ค.ศ. 2010) ก็ได้มีการจัดการฉลองอายุครบหนึ่งพันปีของเมือง<ref name="news1000">{{cite web|url=http://www.telegraph.co.uk/sponsored/rbth/features/8052722/Yaroslavl-A-cultural-centre-in-Russia-celebrates-1000-years-of-history.html|title=Yaroslavl: A cultural centre in Russia celebrates 1000 years of history|publisher=The Telegraph}}</ref>
 
== ภูมิศาสตร์ ==
[[ไฟล์:Ярославская область муниципальное образование город Ярославль локатор.svg|thumbnail|left|ขอบเขตของเมืองยาโรสลาฟล์ในยาโรสลาฟโอบลาสต์]]
[[ไฟล์:Yaroslavl 002.jpg|thumbnail|right|แม่น้ำโคตาโรสึล์ในหน้าหนาวที่จับตัวเป็นน้ำแข็งจนสามารถลงไปเดินได้]]
 
ตั้งอยู่บนบริเวณที่ราบของลุ่มแม่น้ำวอลกาตอนบนเยื้องไปทางด้านตะวันออกของ[[เขตปกครองยาโรสลาฟ]]ในตำแหน่งที่แม่น้ำวอลกาหักเลี้ยวไปทางทิศตะวันออก โดยอยู่ห่างจาก[[เขื่อนรีบินสก์]]ที่เป็น[[เขื่อน]]กักเก็บน้ำขนาดใหญ่รับน้ำจากแม่น้ำวอลกาและลำน้ำสาขาอื่นๆที่ตั้งอยู่ไกลไปทางทางตะวันตกเฉียงเหนือราวๆ 80 กิโลเมตร โดยจุดที่เป็นหัวใจของเมืองนั้นเป็นจุดบรรจบกันของแม่น้ำโคตาโรสึล์ ({{lang-langx|en|Kotorosl}} {{lang-langx|ru|Ко́торосль}}) กับแม่น้ำวอลกา ทำให้ตั้งแต่อดีตกาลมา ที่นี่มีความสำคัญในฐานะเมืองท่าค้าขายแห่งนึงและเป็นประตูทางเชื่อมการค้าขายทางน้ำที่สามารถเดินทางผ่านลำน้ำสาขาที่ติดต่อกับแม่น้ำวอลกาจนสามารถไปออกสู่[[ทะเลขาว]]ทางทิศเหนือของรัสเซียให้แก่มอสโกได้อีกด้วย
 
ภูมิอากาศของยาโรสลาฟล์ลัฟล์นั้นจะมีอุณหภูมิเฉลี่ย 21-25 องศาในหน้าร้อน แต่หากเป็นช่วงที่แดดจัดๆก็อาจขึ้นถึงกว่า 30 องศาได้ ส่วนในหน้าหนาวนั้น อุณหภูมิสามารถลดลงไปได้ถึง -20 องศาเซลเซียสหรือกระทั่ง -40 องศาในช่วงที่มี[[พายุหิมะ]]หนัก และในฤดูหนาวแม่น้ำวอลกาและโคตาโรสึล์ช่วงที่ไหลผ่านเมืองมักจะจับตัวเป็นน้ำแข็ง
 
 
== ประวัติศาสตร์ ==
=== ช่วงอาณาจักรรัสตอฟรอสตอฟของเคียฟรุส ===
 
ในบริเวณนี้นั้น เคยมีชุมชนตั้งอยู่มาก่อนโดยเป็นชาวพื้นเมือง[[ฟินโน-อูกริค]] ({{lang-langx|en|Finno-Ugric}}) ซึ่งไม่มีความเกี่ยวข้องกับบรรพบรุษของชาวรัสเซีย จนกระทั่งการมาถึงของ'''ยาโรสลาฟผู้ปราดเปรื่อง''' ({{lang-langx|en|Yaroslav the Wise}}) ซึ่งเป็นเชื้อสายของ[[ราชวงศ์รูริค]]ที่ทำการปกครองเคียฟรุสอยู่ในยุคนั้น โดยตำนานบันทึกการก่อตั้งเมืองพระองค์ได้ล่องเรือมาตามแม่น้ำโคตาโรสึล์จากต้นแม่น้ำคือทะเลสาบเนโรซึ่งเป็นที่ตั้งของเมือง'''[[รัสตอฟรอสตอฟ-นา-โดนู]]'''({{lang-en|Rostov}} {{lang-ru|Ростов}})อันเป็นดินแดนทางตะวันออกเฉียงเหนือของเคียฟรุสที่พระองค์มาปกครองอยู่ ครั้นเมื่อเรือล่องมาถึงบริเวณจุดบรรจบกับแม่น้ำวอลกา พระองค์ได้ให้ความสนใจว่าเป็นจุดที่น่าจะอำนวยความสะดวกในการค้าขายผ่านแม่น้ำวอลกา ทว่ากลุ่มคนพื้นเมืองที่อาศัยอยู่บริเวณนี้นั้นบางครั้งก็ทำการปล้นเรือสินค้า กล่าวกันว่าในยามที่พระองค์มาถึงบริเวณปากแม่น้ำโคตาโรสึล์ ก็ได้พบเรือสินค้ากำลังถูกปล้นอยู่พอดีจีงได้ไปช่วยพ่อค้าบนเรือนั้น เป็นผลให้ชาวพื้นเมืองไม่พอใจ และได้ปล่อยหมีซึ่งตามความเชื่อใน[[ลัทธิหมอผี]]ถือว่าเป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์มาเพื่อหมายจะทำร้าย ซึ่งพระองค์ก็ได้ทำการสังหารหมีด้วย[[ง้าว]] (Halberd) จนเหล่าชาวพื้นเมืองยอมจำนน
[[ไฟล์:Founder of Yaroslavl.jpg|135px|thumbnail|left|อนุสาวรีย์ยาโรสลาฟผู้ปราดเปรื่องในยาโรสลาฟล์]]
=== ช่วงอาณาจักรรัสตอฟของเคียฟรุส ===
 
ในบริเวณนี้นั้น เคยมีชุมชนตั้งอยู่มาก่อนโดยเป็นชาวพื้นเมือง[[ฟินโน-อูกริค]]({{lang-en|Finno-Ugric}})ซึ่งไม่มีความเกี่ยวข้องกับบรรพบรุษของชาวรัสเซีย จนกระทั่งการมาถึงของ'''ยาโรสลาฟผู้ปราดเปรื่อง'''({{lang-en|Yaroslav the Wise}}) ซึ่งเป็นเชื้อสายของ[[ราชวงศ์รูริค]]ที่ทำการปกครองเคียฟรุสอยู่ในยุคนั้น โดยตำนานบันทึกการก่อตั้งเมืองพระองค์ได้ล่องเรือมาตามแม่น้ำโคตาโรสึล์จากต้นแม่น้ำคือทะเลสาบเนโรซึ่งเป็นที่ตั้งของเมือง'''[[รัสตอฟ]]'''({{lang-en|Rostov}} {{lang-ru|Ростов}})อันเป็นดินแดนทางตะวันออกเฉียงเหนือของเคียฟรุสที่พระองค์มาปกครองอยู่ ครั้นเมื่อเรือล่องมาถึงบริเวณจุดบรรจบกับแม่น้ำวอลกา พระองค์ได้ให้ความสนใจว่าเป็นจุดที่น่าจะอำนวยความสะดวกในการค้าขายผ่านแม่น้ำวอลกา ทว่ากลุ่มคนพื้นเมืองที่อาศัยอยู่บริเวณนี้นั้นบางครั้งก็ทำการปล้นเรือสินค้า กล่าวกันว่าในยามที่พระองค์มาถึงบริเวณปากแม่น้ำโคตาโรสึล์ ก็ได้พบเรือสินค้ากำลังถูกปล้นอยู่พอดีจีงได้ไปช่วยพ่อค้าบนเรือนั้น เป็นผลให้ชาวพื้นเมืองไม่พอใจ และได้ปล่อยหมีซึ่งตามความเชื่อใน[[ลัทธิหมอผี]]ถือว่าเป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์มาเพื่อหมายจะทำร้าย ซึ่งพระองค์ก็ได้ทำการสังหารหมีด้วย[[ง้าว]](Halberd)จนเหล่าชาวพื้นเมืองยอมจำนน
 
[[ไฟล์:Ярославский историко-архитектурный музей-заповедник (центральные площади с прилегающими улицами и Волжская набережная)..JPG|thumbnail|right|ซุ้มจุดชมวิวบนเนินเหนือแหลมสเตรลก้า]]
 
เชื่อกันว่าบริเวณซึ่งเหตุการณ์ในตำนานการสร้างเมืองเกิดขึ้นนั้น ก็คือบริเวณ[[แหลม]]ซึ่งยื่นล้ำไปตรงจุดที่แม่น้ำหลักของเมืองทั้งสองสายไหลมารวมกันที่ในภาษารัสเซียเรียกกันว่า ''สเตรลก้าสเตรลกา'' ({{lang-en|strelka}} {{lang-ru|стрелка}}) หลังจากปราบหมีแล้วยาโรสลาฟผู้ปราดเปรื่องก็ได้มีดำริให้สร้างโบสถ์ไม้และ[[ป้อมปราการ]]ขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์ ซึ่งชื่อของเมือง "ยาโรสลาฟล์ลัฟล์" นั้น เป็นรูปแสดงความเป็นเจ้าของในภาษารัสเซียโบราณและแปลได้ว่า "ของ/แห่งยาโรสลาฟ"
 
หลังจากการก่อตั้งในปี พ.ศ. 1553 (ค.ศ. 1010) แล้ว ยาโรสลาฟล์ลัฟล์ในช่วงแรกๆนั้นมีฐานะเป็นเมืองปราการหน้าด่านรอบนอกให้แก่[[รัสตอฟ]] รอสตอฟรวมถึงเป็นชุมชนที่มีส่วนช่วยในการเผยแพร่ศาสนาคริสต์[[นิกายรัสเซียนออร์โธดอกซ์]]ในแถบลุ่มน้ำวอลกาตอนบน
 
=== เมืองอิสระยาโรสลาฟล์ลัฟล์ ===
 
ในราวปี พ.ศ. 1761 (ค.ศ. 1218) ผู้นำซึ่งปกครองเมืองรัสตอฟรอสตอฟที่ถูกลดอำนาจลงเป็นเพียงเมืองศูนย์กลางทางศาสนาในเขตตะวันออกเฉียงเหนือของเคียฟรุสหลังจาก[[ยูริ ดาลการูกี้ย์]]ได้ย้ายเมืองที่กุมอำนาจปกครองไปยัง[[ซุซดัล]]แทนในปี พ.ศ. 1668 (ค.ศ. 1125)<ref name="RosSuz">{{cite web|url=http://russiapedia.rt.com/prominent-russians/history-and-mythology/yury-dolgoruky/|title=Prominent Russians: Yury Dolgoruky|publisher=RT Russiapedia}}</ref> คือ [[คอนสตานติน แห่ง รัสตอฟสตันตินแห่งรอสตอฟ]] ได้ทำการแบ่งดินแดนซึ่งอยู่ในความครอบครองของรัสตอฟรอสตอฟให้แก่ผู้สืบเชื้อสาย และ ในครั้งนั้นเองที่ยาโรสลาฟล์ลัฟล์ได้กลายเป็น[[เมืองอิสระ]] (Yaroslavl principality) แยกออกมาจากรัสตอฟโดยมีรอสตอฟโดยมี [[Vsevolodวเซโวลอด Kontantinovich]]คอนสตันติโนวิช ผู้เป็นบุตรชายได้รับ[[กรรมสิทธิ์]]ในการปกครอง
 
ทว่าในระยะนั้นเป็นช่วงที่เคียฟรุสเสื่อมโทรมและเหล่าดินแดนที่เคยประกอบกันขึ้นเป็นเคียฟรุสก็ต่างแตกกระจัดกระจายเป็นเขตเล็กเขตน้อย ระยะนั้นดินแดนแถบนี้จึงประสบภยันตรายจากการรุกรานของชาว[[มองโกล-ทาทาร์ตาตาร์]]กันโดยทั่วถึง ซึ่งสำหรับยาโรสลาฟล์ลัฟล์นั้นต้องประสบกับความสูญเสียในการรบที่สมรภูมิ[[แม่น้ำซิท]]({{lang-en|Sit}} {{lang-ru|Сить}})ซึ่งเจ้าผู้ปกครองเมืองในเวลานั้นถูกฝ่ายมองโกลฆ่าตายในการรบและทำให้ยาโรสลาฟล์ลัฟล์อ่อนแอลงจนถูกมองโกลเข้าโจมตีเสียหายย่อยยับ และตลอดช่วงการพยายามฟื้นตัวก็ยังคงถูกมองโกล[[ปล้นสะดมภ์]]บ่อยๆเป็นเวลาอีกกว่าร้อยปีจนกระทั่งราชวงศ์มอสโกเริ่มเข็มแข็งจนสามารถขึ้นมาแข่งขันด้านอิทธิพลในภูมิภาคนี้กับชาวมองโกลได้
 
=== ใต้การปกครองของราชวงศ์มอสโก ===
 
หลัง[[ราชวงศ์มอสโก]]สามารถแยกตัวเป็นอิสระจากอำนาจมองโกลได้และเริ่มทำการรวบรวมดินแดนที่กระจัดกระจายในละแวกนี้เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับตัวเอง เมืองอิสระต่างๆก็ค่อยๆถูกรวบรวมเข้าไปเป็นของมอสโก ไม่ว่าจะด้วยการถูกตียึดหรือต่อรองให้เจ้าผู้ครองเมืองนั้นยอมยกสิทธิ์การปกครองเมืองให้แก่ทางฝ่ายมอสโกโดยแลกกับทรัพย์สมบัติของทางฝ่ายมอสโก ซึ่งในปี พ.ศ. 2006 (ค.ศ. 1463) ยาโรสลาฟล์ก็ถูกลัฟล์ก็ถูก"ซื้อ"เข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของ[[อาณาจักรมัสโควี]]ในรัชสมัยของ[[ซาร์อีวานที่ 3 แห่งรัสเซีย|พระเจ้าอีวานมหาราช]]
 
[[ไฟล์:Spaso-Preobrazhensky Monastery (Yaroslavl) 02.jpg|thumbnail|right|โบสถ์สร้างด้วยศิลา (ขวา) ซึ่งเป็นสิ่งก่อสร้างที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดในยาโรสลาฟล์ลัฟล์]]
 
จากนั้นมายาโรสลาฟล์ลัฟล์ก็ได้รับบทบาทเป็น[[เมืองท่า]]ค้าขายติดต่อทางน้ำให้แก่อาณาจักรมัสโควี โดยเส้นทางทางเหนือนั้น สามารถเชื่อมต่อแม่น้ำวอลกากับแม่น้ำสาขาอื่นๆจนไปออกสู่ทะเลขาวที่[[อาร์คันเกลสค์]] (Arkhangelsk) ได้ ส่วนทางด้านตะวันออกก็ไปได้ถึง[[ทะเลแคสเปียน]]ที่เป็นปากแม่น้ำวอลกาและจากแม่น้ำสาขาก็สามารถเดินทางไปได้ถึงเขต[[เทือกเขาอูรัลส์รัล]]
 
ปี พ.ศ. 2044 (ค.ศ. 1501) เกิดไฟไหม้ครั้งใหญ่ในเมืองยาโรสลาฟล์ลัฟล์ ทำให้สิ่งก่อสร้างต่างๆในเมืองซึ่งสร้างด้วยไม้ถูกเผาผลาญหมดสิ้น ในช่วงนี้เองจึงมีการเริ่มสร้างโบสถ์ด้วยวัดถุที่ไม่เป็นเชื้อเพลิงเช่นหินและอิฐ โดยสิ่งก่อสร้างที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดในเมืองก็คือโบสถ์ศิลา Transfiguration of the Saviour ภายใน[[อาราม Spaso-Preobrazhensky]] สร้างขึ้นหลังจากไฟไหม้ใหญ่ครั้งนั้นระหว่างปี พ.ศ. 2049-2059 (ค.ศ. 1506-1516)
 
ในช่วงการปกครองรัสเซียของ[[ซาร์อีวานที่ 4 แห่งรัสเซีย|พระเจ้าอีวานที่ 4]] ยาโรสลาฟล์ลัฟล์ได้รับอานิสงส์การทำนุบำรุงด้านศาสนาจากพระองค์ เนื่องด้วยในบางครั้งพระองค์จะเดินทางมา[[แสวงบุญ]]ที่อาราม Spaso-Preobrazhensky และจะมอบสิ่งของเงินทองให้แก่อาราม และเมื่อ[[นอฟโกรอด]]ถูกทำลายย่อยยับด้วยน้ำมือของพระเจ้าอีวานที่ 4 เช่นกัน ยาโรสลาฟล์ลัฟล์ก็ได้กลายเป็นที่พักพิงแห่งใหม่ของเหล่าพ่อค้าผู้มั่งมีซึ่งหลบหนีออกมาจากนอฟโกรอด
 
[[ไฟล์:Мињин-Пожарски.JPG|thumbnail|left|อนุสาวรีย์มินินและโพซาร์สกี้ที่หน้าจัตุรัสแดงในมอสโก ซึ่งก่อนจะเข้าไปกอบกู้มอสโกก็ได้มาปักหลักรวบรวมกำลังเพิ่มที่ยาโรสลาฟล์ลัฟล์]]
 
=== ช่วงเวลาแห่งความวุ่นวายและการถูกแทรกแซงจากโปแลนด์และลิทัวเนีย ===
 
ในช่วงปี พ.ศ. 2134 (ค. ศ. 1591) โอรสองค์สุดท้ายของพระเจ้าอีวานที่ 4 คือ ดิมิทรีดมีตรี ได้สิ้นชีวิตก่อนวัยอันควร ทำให้ผู้สืบสายราชวงศ์รูริคโดยตรงถึงกาลสิ้นสูญ จึงเป็นเหตุให้เกิดการแย่งอำนาจขึ้นในมอสโกรวมถึงมีผู้แอบอ้างเป็น[[ดิมิทรีดมีตรีตัวปลอม]]หลายรายเพื่อหวังมาอ้างสิทธิ์ในบัลลังค์ปกครองรัสเซีย<ref name="falseDimitrys">{{cite web|url=http://www.abcgallery.com/list/2001oct16.html|title=The Time of Trouble - As Seen by Dutch Merchant Isaak Abrahamsz Massa|publisher=abcgallery.com}}</ref> จนกระทั่งในช่วงปี พ.ศ. 2151 (ค.ศ. 1608) ทาง[[เครือรัฐโปแลนด์และเครือจักรภพโปแลนด์–ลิทัวเนีย]] (Polish–Lithuanian Commonwealth) ได้ฉวยโอกาสเข้ามาแทรกแซงโดยให้การสนับสนุนผู้แอบอ้างเป็น[[ดิมิทรีดมีตรีคนที่สอง]]และก่อความเสียหายให้กับเมืองต่างๆในภูมิอาณาบริเวณของมอสโกและลุ่มน้ำวอลกาตอนบน
 
ยาโรสลาฟล์ลัฟล์นั้นในชั้นแรกได้ให้การสวามิภักดิ์ต่อดิมิทรีดมีตรีปลอมคนที่สอง แต่เมื่อก็ยังถูกกองกำลังของชาวโปลโปแลนด์เข้าปล้นอยู่เรื่อยๆจึงเริ่มทำให้ยาโรสลาฟล์ลัฟล์และเมืองต่างๆต่าง ๆ ในลุ่มน้ำวอลกาลุกฮือขึ้นต่อต้าน และครั้งหนึ่งในปี พ.ศ. 2152 (ค.ศ. 1609) ทางฝั่งเครือรัฐโปแลนด์และเครือจักรภพโปแลนด์–ลิทัวเนียได้ยกทัพมาเพื่อพยายามจะตียาโรสลาฟล์ลัฟล์ให้แตกและยึดไว้ให้อยู่ใต้อำนาจให้ได้ ทว่าก็ไม่สามารถทำให้ยาโรสลาฟล์ลัฟล์กลับมาสวามิภักดิได้แม้จะทำลายเมืองจนเกือบหมดก็ตาม
 
เดือนเมษายนปี พ.ศ. 2155 (ค.ศ. 1612) ได้มี[[กองทัพราษฎร]]นำโดย '''[[คุซมา มินิมีนิน]]''' (Kuzma Minin) และ '''[[ดิมิทรีดมีตรี โพซาร์สกี้ปอจาร์สกี]]''' (Dmitry Pozharsky)<ref name="peasentarmy">{{cite web|url=http://russiapedia.rt.com/prominent-russians/history-and-mythology/kuzma-minin-and-count-dmitry-pozharsky/|title=Prominent Russians: Kuzma Minin and Count Dmitry Pozharsky|publisher=RT Russiapedia}}</ref> เดินทางจากเมือง[[นิซนีนอฟโกรอด]]ที่ตั้งอยู่ห่างออกไปทางตะวันออกตามแนวแม่น้ำวอลกาและมาตั้งหลักรวบรวมเสบียงและกำลังคนเพิ่มที่ยาโรสลาฟล์ลัฟล์ และในช่วงเวลาราวๆสี่เดือนที่กองทัพราษฎรมาปักหลักอยู่ในเมืองนี้เอง ได้มีการตั้งคณะผู้ปกครองเฉพาะกาล “The Council of the Russian Land” ขึ้นมาทำการบริหารจัดการเรื่องต่างๆของดินแดนรัสเซียที่ยังไม่ขึ้นกับฝ่ายเครือรัฐโปแลนด์และเครือจักรภพโปแลนด์–ลิทัวเนีย จึงกล่าวได้ว่าในช่วงเวลานั้นเองยาโรสลาฟล์ลัฟล์ได้กลายเป็น[[เมืองหลวงชั่วคราว]]ของรัสเซีย<ref name="TempCap">{{cite web|url=http://city-yaroslavl.ru/en/chpages/Default.aspx|title=Official portal of Yaroslavl - The history of Yaroslavl|publisher=city-yaroslavl.ru|access-date=2014-01-26|archive-date=2015-08-29|archive-url=https://web.archive.org/web/20150829072305/http://city-yaroslavl.ru/EN/chpages/Default.aspx|url-status=dead}}</ref>เพราะในระยะเวลานั้นมอสโกก็ตกอยู่ในกำมือของผู้บุกรุกต่างชาติโดยสิ้นเชิง จนกระทั่งปลายเดือนกรกฎาคมปีเดียวกัน เมื่อรวบรวมกำลังได้ถึง 25,000 คนแล้ว กองทัพของมินินและโพซาร์สกี้มีนินและปอจาร์สกีจึงได้ออกเดินทางจากยาโรสลาฟล์ลัฟล์ไปกอบกู้มอสโก จนในเดือนพฤศจิกายนนั้นเองมอสโกก็ได้เป็นอิสระจากเงื้อมมือของเครือรัฐโปแลนด์และเครือจักรภพโปแลนด์–ลิทัวเนีย
 
=== คริสต์ศตวรรษที่ 17-18 ===
[[ไฟล์:Church-saviour-gorod-yar.jpg|150px|thumbnail|right|Church of the Saviour in the town 1 ในโบสถ์ที่สร้างในยุคเฟื่องฟูของศาสนสถาน]]
หลังบ้านเมืองกลับมาสงบสุขอีกครั้งด้วยการขึ้นปกครองรัสเซียของ[[ราชวงศ์โรมานอฟ]] ยาโรสลาฟล์ลัฟล์ก็กลับมาเป็นเมืองท่าหลักในการเดินเรือค้าขายขนส่งสินค้าบนฝั่งแม่น้ำวอลกาดังเดิม ในระหว่างปลายยุคคริสต์ศตวรรษที่ 17 นั้น ยาโรสลาฟล์ลัฟล์มีฐานะเป็นถึงเมืองใหญ่อันดับที่สองของรัสเซียเป็นรองเพียงมอสโกด้วยจำนวนประชากร 15,000 คน และเป็นเมืองที่มีความมั่งคั่งด้วยกำไรจากการเป็นเมืองท่าจนทำให้ในยุคนี้เอง เมืองเริ่มขยับขยายใหญ่ขึ้นและมีตระกูลพ่อค้าที่ร่ำรวยอาศัยอยู่ในเมืองหลายตระกูล จึงทำให้เกิดการแข่งขันเพื่อจะอวดฐานะทางทรัพย์สมบัติระหว่างกลุ่มตระกูลพ่อค้าเหล่านี้ ดังนั้นในเมืองก็ได้มีการสร้างโบสถ์ขึ้นมาหลายแห่งพร้อมๆกันโดยโบสถ์แต่ละแห่งก็เป็นเหมือนตัวแทนแสดงความยิ่งใหญ่ของแต่ละตระกูล ทำให้ลักษณะทางสถาปัตยกรรมของโบสถ์แต่ละแห่งในยุคนี้จะโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์ไปตามแต่ตระกูลผู้ให้ทุนก่อสร้างจะเห็นชอบ ตัวอย่างของโบสถ์ซึ่งสร้างในช่วงนี้และยังคงอยู่จนถึงปัจจุบันเช่น [[Church of Elijah the Prophet]], [[Church of the Epiphany]], [[Church of St. Michael the Archangel]] และ [[St. John the Baptist Church]]
 
ปี พ.ศ. 2201 (ค.ศ. 1658) เป็นอีกครั้งที่เกิดไฟไหม้ใหญ่ทำลายสิ่งก่อสร้างต่างๆภายในตัวเมือง ซึ่งสร้างความเสียหายให้กับบ้านเรือนส่วนใหญ่ที่ยังคงสร้างด้วยไม้และมีประชากรเสียชีวิตไปนับพันคน ทว่าโบสถ์ส่วนใหญ่ที่เปลี่ยนไปสร้างด้วยอิฐและหินตั้งแต่ก่อนหน้านี้แล้วนั้นไม่ค่อยได้รับความเสียหายมากมาย เว้นเสียก็แต่โบสถ์ Cathedral of the Dormition ตรงบริเวณเนินเหนือแหลมสเตรลก้าที่เสียหายจนต้องสร้างใหม่ ซึ่งหลังจากไฟไหม้ใหญ่ครั้งนี้ สิ่งก่อสร้างต่างๆในเมืองก็แทบไม่มีการสร้างด้วยไม้อีกเลย
 
=== ช่วงการเปลี่ยนแปลงไปสู่เมืองอุตสาหกรรม ===
 
[[ไฟล์:Zatrapeznov factory.jpg|thumbnail|left|อาคารโรงงานสิ่งทอ Krasny Perekop ริมแม่น้ำโคตาโรสึล์]]
[[ไฟล์:Demidov_Juridical_Lyceum_02.jpg|thumbnail|right|Demidov Lyceum สถาบันการศึกษาขั้นสูงแห่งแรกของเมือง]]
ภายหลังจาก[[พระเจ้าซาร์ปีเตอร์ที่ 1|ซาร์ปีเตอร์มหาราช]]ทรงย้ายเมืองหลวงแห่งรัสเซียจากมอสโกไปสู่[[เซนต์ปีเตอร์สเบิร์กปีเตอส์เบิร์ก]] ความสำคัญของยาโรสลาฟล์ลัฟล์รวมถึงเมืองท่าการค้าตามแม่น้ำวอลกาอื่นๆก็เริ่มเสื่อมถอยลงส่งผลให้เมืองต้องปรับตัวโดยใช้ความมั่งคั่งจากการเป็นเมืองท่ามาก่อนในการพัฒนา[[สาธารณูปโภค]]ในเมืองเพื่อเริ่มรองรับการเข้ามาตั้งฐานการผลิตอุตสาหกรรมต่างๆ<ref name="TempCap">{{cite web|url=http://city-yaroslavl.ru/en/chpages/Default.aspx|title=Official portal of Yaroslavl - The history of Yaroslavl|publisher=city-yaroslavl.ru/}}</ref> โดยโรงงานอุตสาหกรรมที่สำคัญที่สุดในยุคเริ่มแรกของยาโรสลาฟล์ลัฟล์ได้ตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2315 (ค.ศ. 1772) โดย Ivan Tames ได้เปิดโรงงานสิ่งทอ '''Krasny Perekop''' ({{lang-langx|ru|Красный Перекоп}}) ขึ้น ณ ฝั่งแม่น้ำโคตาโรสึล์ด้านใต้ตรงข้ามกับตัวเมืองหลักของยาโรสลาฟล์ลัฟล์ ซึ่งไม่เพียงแต่จะเป็นโรงงาน[[สิ่งทอ]]ที่ใหญ่เป็นอันดับต้นๆของรัสเซียในช่วงเวลานั้น ชื่อของโรงงานก็ได้กลายเป็นชื่อของย่าน ''Krasnoperekopsky'' ที่เป็น 1 ใน 6 เขตย่อยของยาโรสลาฟล์อีกด้วยลัฟล์อีกด้วย แม้แต่กระทั่งทุกวันนี้ โรงงานแห่งนี้ก็ยังคงดำเนินงานอยู่
 
ปี พ.ศ. 2293 (ค.ศ. 1750) '''Fyodor Volkov''' ผู้ซึ่งจะกลายเป็นนักแสดง[[ละครเวที]]คนสำคัญในประวัติศาสตร์การพัฒนาวงการละครเวทีของรัสเซียในภายหลัง ได้เปิดการแสดงละครต่อสาธารณชนเป็นครั้งแรกในยาโรสลาฟล์ลัฟล์โดยจัดการแสดงขึ้นในโกดังเก็บสินค้าของผู้เป็นพ่อเลี้ยง แม้นว่าจะไม่ใช่สถานที่จัดการแสดงที่ถูกต้องเป็นทางการ แต่นั้นก็ได้รับการยอมรับกันว่าเป็นการ"เปิดโรงละครให้แก่สาธารณะ"เป็นครั้งแรกในประเทศรัสเซีย<ref name="VRVolkov">{{cite web|url=http://voiceofrussia.com/radio_broadcast/2248959/5819759/|title=Fyodor Volkov - father of Russian theatre|date=24 May 2010|publisher=The Voice of Russia|access-date=2013-11-03|archive-date=2014-07-27|archive-url=https://web.archive.org/web/20140727235949/http://voiceofrussia.com/radio_broadcast/2248959/5819759/|url-status=dead}}</ref> ทำให้ยาโรสลาฟล์ลัฟล์ได้รับการยกย่องว่าเป็นสถานที่กำเนิดโรงละครแห่งแรกของรัสเซียในปีนั้นนั่นเอง
[[ไฟล์:Photo_of_Yaroslavl_of_Yaroslavl_Governorate_001.gif|thumbnail|right|จวนผู้ว่าของจังหวัดยาโรสลาฟล์ในอดีตลัฟล์ในอดีต]]
=== จังหวัดยาโรสลาฟล์ลัฟล์ ===
 
ครั้นปี พ.ศ. 2320 (ค.ศ. 1777) ในรัชสมัยของ[[พระนางเจ้าแคทเธอรีนที่ 2]] ด้วยความสำคัญในฐานะเมืองเศรษฐกิจที่กำลังเติบโตรุดหน้าและจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้นตามลำดับ ยาโรสลาฟล์ลัฟล์จึงได้รับการพิจารณาให้ได้รับอำนาจปกครองตัวเองโดยแยกออกมาเป็น[[จังหวัดยาโรสลาฟล์ลัฟล์]] ({{lang-langx|en|Yaroslavl province}}) และได้รับพระราชทานตราสัญลักษณ์เมืองรวมถึงได้รับการออกแบบ[[ผังเมือง]]ใหม่ มีการก่อสร้างเพิ่มเติมสาธารณูปโภคพื้นฐานในเมืองและปรับเปลี่ยนสถาปัตยกรรมในส่วนใจกลางเมืองเก่าให้สร้างอาคารแบบยุโรปตะวันตกในสไตล์เดียวกันหมดเพื่อความสวยงาม ทั้งยังมีการขยายสร้างสวนสาธารณะแทรกไว้กับหมู่อาคารที่ก่อสร้างเพิ่มเติมขึ้นมาใหม่อีกด้วย
 
ด้วยความสำคัญทางฐานะของเมืองและจำนวนประชากร ทำให้ในปี พ.ศ. 2331 (ค.ศ. 1788) ได้มีการย้ายศูนย์กลางของการปกครอง[[มุขมณฑล]]ออร์โธดอกซ์เขตรัสตอฟออร์โธดอกซ์เขตรอสตอฟ-ยาโรสลาฟล์ลัฟล์มาอยู่ที่นี่แทน จากที่ดั้งเดิมนั้นเคยตั้งอยู่ที่เมืองรัสตอฟรอสตอฟ<ref name="diocese">{{cite web|url=http://yareparhia.ru/eparhia/history/|title=History of Yaroslavl metropolis|publisher=yareparhia.ru|access-date=2013-11-04|archive-date=2013-05-25|archive-url=https://web.archive.org/web/20130525050304/http://yareparhia.ru/eparhia/history/|url-status=dead}}</ref>
[[ไฟล์:Yar_plan.JPG|185px|thumbnail|right|แปลนผังเมืองในปีค.ศ. 1799]]
ตั้งแต่ได้รับอำนาจการปกครองตัวเอง ในช่วงอีกร้อยปีต่อมานั้น ยาโรสลาฟล์ลัฟล์ก็ได้มีการพัฒนายกระดับเมืองขึ้นมากมายไม่ว่าด้านการก่อสร้างสาธารณูปโภคเพิ่มเติม การส่งเสริมทางด้าน[[อุตสาหกรรม]] สร้างความเจริญให้กับเมืองอย่างเห็นได้ชัดเจนอาทิเช่น
 
* ตั้ง[[สถาบันการศึกษา]]ขั้นสูง Demidov Lyceum ซึ่งปัจจุบันนี้สืบทอดต่อมาเป็นมหาวิทยาลัย '''[[Demidov Yaroslavl State University]]''' ที่เป็นสถาบันการศึกษาระดับ[[อุดมศึกษา]]หลักแห่งนึงของเมือง ในปี พ.ศ. 2346 (ค.ศ. 1803)<ref name="DemiHis">{{cite web|url=http://www.uniyar.ac.ru/en/|title=P.G. Demidov Yaroslavl State University|publisher=Demidov Yaroslavl State University website}}</ref>
 
* สร้างสะพานหลักข้ามแม่น้ำโคตาโรสึล์ใกล้ๆกับอาราม Spaso-Preobrazhensky Monastery ปี พ.ศ. 2355 (ค.ศ. 1812)
 
* ทางเดินเลียบริมฝั่งแม่น้ำวอลกา สร้างเสร็จในช่วงปี พ.ศ. 2363 (ค.ศ. 1820)
 
* จวนผู้ว่าของจังหวัดยารัสลาวัล ซึ่งทุกวันนี้ปรับเปลี่ยนไปเป็นหอศิลป์ประจำเมือง ก่อสร้างระหว่างปี พ.ศ. 2364-2366 (ค.ศ. 1821-1823)
 
* ปี พ.ศ. 2403 (ค.ศ. 1860) ระบบ[[โทรเลข]]ก็เข้ามาถึงยาโรสลาฟล์ลัฟล์ รวมถึงมีการสร้างเส้นทาง[[รถไฟ]]สายแรกไว้เดินทางติดต่อกับกรุงมอสโกด้วยในอีก 10 ปีต่อมา ปี พ.ศ. 2416 (ค.ศ. 1873) ก็มีระบบส่งน้ำ และเริ่มมีบริการ[[รถราง]]ขับเคลื่อนด้วยพลังไฟฟ้าในปี พ.ศ. 2443 (ค.ศ. 1900)
 
ด้วยการพัฒนาเมืองขึ้นมาอย่างต่อเนื่อง ทำให้ยาโรสลาฟล์ลัฟล์ได้กลายเป็นศูนย์กลางทาง[[การคมนาคม]]โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมีการสร้างสะพานสำหรับรถไฟข้ามแม่น้ำวอลกา ในปี พ.ศ. 2456 (ค.ศ. 1913)
 
[[ไฟล์:Yaroslavl-photo142.jpg|thumbnail|left|ความเสียหายจากการโจมตีของฝ่ายแดงเพื่อยึดเมืองคืนจากฝ่ายขาว]]
=== กบฏฝ่ายขาวในยาโรสลาฟล์ลัฟล์<ref name="uprising">{{cite web|url=http://www.freerepublic.com/focus/bloggers/3048314/posts|title=Hiroshima in Yaroslavl (Red Terror in Russia)|date=29 July 2013|publisher=annalex's blog on Free Republic}}</ref> ===
[[ไฟล์:Yaroslavl_1918_Revolt_map.png|185px|thumbnail|right|แผนที่แสดงความเสียหายจากการปราบกบฏฝ่ายขาว ส่วนสีดำคือส่วนที่ถูกเพลิงไหม้เสียหายหมดสิ้น]]
หลังจากการ[[ปฏิวัติ]]โค่นล้ม[[ระบอบซาร์]]และได้เกิด[[สงครามกลางเมืองในรัสเซีย]]ตามมา ในวันที่ 6 กรกฎาคม ปี พ.ศ. 2461 (ค.ศ. 1918) กลุ่มทหารและนักเคลื่อนไหวของ[[ฝ่ายขาว]]ที่ได้ลักลอบเข้ามาในยาโรสลาฟล์ลัฟล์ได้ทำการจับอาวุธขึ้นยึดอำนาจในเมืองจากตัวแทนของ[[ฝ่ายแดง]]ซึ่งกุมอำนาจการปกครองเมืองอยู่ โดยมีการสมรู้ร่วมคิดจากคณะนักบวชท้องถิ่นและกองกำลังตำรวจของเมือง ซึ่งแม้กำลังของฝ่ายขาวที่เข้ายึดอำนาจนั้นไม่ได้มีกำลังมากไปกว่าหลักร้อยกว่าคนและอาวุธก็มีเพียงปืนสั้นในชั้นต้น แต่ด้วยว่าขณะเกิดเหตุการณ์นั้น กองกำลังของฝ่ายแดงในเมืองถูกส่งไปช่วยรบในการต่อสู้กับฝ่ายขาวที่ทางภาคใต้อยู่ ทำให้ฝ่ายขาวสามารถจับตัวคนของฝ่ายแดงในเมืองแล้วส่งไปจองจำบนเรือที่ทอดสมอกลางแม่น้ำวอลกาให้ตายตามยถากรรม หากใครพยายามจะหนีจากเรือว่ายน้ำกลับขึ้นฝั่งก็จะถูกยิงโดยไม่ลังเล เมื่อทำการกำจัดคนของฝ่ายแดงไปแล้วทั้งด้วยการจองจำบนเรือกลางแม่น้ำหรือฆ่าเป็นบางคนกลุ่มฝ่ายขาวก็ได้ทำการยึดคลังอาวุธของเมือง ทว่าตลอดการยึดอำนาจนั้น ประชาชนโดยทั่วไปของยาโรสลาฟล์ลัฟล์ก็ไม่ได้ให้การสนับสนุนหรือต่อต้าน
 
ด้วยจำนวนกำลังคนที่ไม่มากมายนัก ทางฝ่ายขาวเองก็ไม่สามารถทำสิ่งใดให้เหล่าประชากรส่วนใหญ่ของยาโรสลาฟล์ลัฟล์หันมาเข้ากับพวกตนได้ จึงเพียงรอให้การก่อความไม่สงบยึดอำนาจที่[[รีบินสก์]]ในอีกสองวันต่อมาประสบความสำเร็จเช่นกัน แล้วหลังจากนั้นกำลังของฝ่ายขาวที่ยึดรีบินสก์ได้จะลงมาช่วยสมทบสร้างความเข้มแข็งเพิ่มที่ยาโรสลาฟล์ลัฟล์ด้วยว่าทางฝ่ายขาวหวังจะใช้ยาโรสลาฟล์ลัฟล์เป็นหนึ่งใน[[ที่มั่น]]สั่งสมกำลังไว้สำหรับการเข้ายึดมอสโกที่เป็นที่มั่นของฝ่ายแดง
 
ทว่าการพยายามยึดอำนาจที่รีบินสก์นั้นไม่ประสบผลสำเร็จ รวมถึงกำลังทหารต่างชาติที่ให้การสนับสนุนฝ่ายขาวอยู่ที่อาร์คันเกลสค์ก็ไม่ส่งกำลังมาช่วยตามที่คาดหวังไว้ [[การยึดอำนาจ]]จึงยืดเยื้อไปจนถึงวันที่ 21 กรกฎาคมเมื่อฝ่ายแดงสามารถไปรวบรวมกำลังพลจากเขตใกล้เคียงเช่น [[อีวาโนโว]], [[คัสโทรมา]] และ [[ตเวียร์]] มาสบทบกับกองกำลังฝ่ายแดงท้องถิ่นของยาโรสลาฟล์ลัฟล์และทำการ[[ปิดล้อมโจมตี]]เมืองอย่างรุนแรงด้วย[[ปืนใหญ่]]และทิ้งระเบิดจากเครื่องบินเพื่อเอาชนะกลุ่มฝ่ายขาว จนสุดท้ายฝ่ายขาวได้แตกพ่ายและกลุ่มผู้นำการยึดอำนาจได้หลบหนีจากเมืองไป ทว่าการโจมตีที่กล่าวกันว่ารุนแรงเกินกว่าเหตุนั้นได้ทำให้ประชากรของยาโรสสลาฟล์เสียชีวิตไปเป็นหลักหลายร้อยคนและสร้างความเสียหายให้กับเมืองอย่างแสนสาหัสจากเพลิงไหม้ซึ่งไม่สามารถดับลงได้เพราะสถานีสูบจ่ายน้ำของเมืองก็ถูกทำลายไปในการระดมโจมตีของฝ่ายแดง
 
หลังจากเหตุการณ์นี้ ตามข้อมูลระบุว่าประชากรของยาโรสลาฟล์ลัฟล์ลดลงอย่างฮวบฮาบจากราว 120,000 ลงมาเหลือเพียงประมาณ 70,000 โดยประชากรที่หายไปส่วนใหญ่อพยพไปอยู่เขตชนบทแทนด้วยภาวะขาดแคลนอาหารในเมือง สิ่งก่อสร้างของเมืองก็เสียหายเป็นจำนวนมากไม่ว่าโบสถ์ อาคารสถานที่ราชการ โรงพยาบาล หอสมุด บ้านเรือนประชาชน ระบบสาธารณูปโภคต่างๆ ผลที่ตามมาก็คือเศรษฐกิจของเมืองเกิดความตกต่ำต้องใช้เวลาหลายปีกว่าจะเริ่มฟื้นตัว
 
=== ช่วงฟื้นตัวหลังกบฏและสงครามโลกครั้งที่สอง ===
[[ไฟล์:Military memorial cemetery in Yaroslavl 01.JPG|thumbnail|left|สุสาน[[ทหารนิรนาม]]ซึ่งเสียชีวิตในโรงพยาบาลทหารในเมืองยาโรสลาฟล์ลัฟล์ช่วงสงคราม]]
 
ในปี พ.ศ. 2472 (ค.ศ. 1929) จังหวัดยาโรสลาฟล์ลัฟล์ได้ถูกยุบและเข้าไปรวมอยู่กับ [[เขตอุตสาหกรรมอิวาโนโว]] (Ivanovo Industrial Oblast) และเป็นส่วนหนึ่งในแผนการของทาง[[โซเวียต]]ที่จะเร่งรัดขยายอัตราการผลิตด้านอุตสาหกรรมในภูมิภาคนี้ เพื่อเป็นการเตรียมการสำหรับการเริ่มขยายฐานอุตสาหกรรมในเมืองอย่างรวดเร็ว ได้มีการสร้าง[[โรงไฟฟ้า]]ขนาดย่อมขึ้นเพื่อเพิ่มปริมาณกระแสไฟฟ้ารองรับ ในช่วงนี้เองที่โรงงานผลิต[[ยางสังเคราะห์]] '''Yaroslavl Tyre Factory''' หนึ่งในโรงงานอุตสาหกรรมใหญ่ซึ่งเป็นกระดูกสันหลังให้แก่เศรษฐกิจด้านอุตสาหกรรมของยาโรสลาฟล์ลัฟล์ได้ถูกตั้งขึ้นมา ซึ่งปัจจุบันนี้ก็ยังเป็นการลงทุนอุตสาหกรรมด้านยางรถยนต์และยางสำหรับ[[อากาศยาน]]ที่ใหญ่ที่สุดใน[[เขตภาคกลางของรัสเซีย]]<ref name="tyreplanthis">{{cite web|url=http://www.yashz.ru/eng/about/common/|title=General info of Yaroslavl Tyre Plant|publisher=Yaroslavl Tyre Plant website|access-date=2013-12-09|archive-date=2014-03-22|archive-url=https://web.archive.org/web/20140322203605/http://www.yashz.ru/eng/about/common|url-status=dead}}</ref> นอกจากนั้นแล้วโรงงานอุตสาหกรรมที่ช่วยดึงเศรษฐกิจของเมืองกลับมาจากจุดวิกฤตหลังจากกบฏก็ยังมีโรงงานผลิตเครื่องยนตร์และประกอบยานพาหนะขนส่ง '''Avtodiesel Yaroslavl Motor Works''' (YaMZ) ซึ่งตั้งมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2459 (ค.ศ. 1916)<ref name="YaMZ">{{cite web|url=http://eng.gazgroup.ru/about/structure/powertrain/avtodiesel/|title=Avtodiesel Yaroslavl Motor Works (YaMZ)|publisher=GAZ Group website|access-date=2013-12-09|archive-date=2014-02-22|archive-url=https://web.archive.org/web/20140222051526/http://eng.gazgroup.ru/about/structure/powertrain/avtodiesel/|url-status=dead}}</ref>
 
ปี พ.ศ. 2479 (ค.ศ. 1936) เป็นอีกครั้งซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงขอบเขตการปกครอง และยาโรสลาฟล์ลัฟล์ก็ได้แยกตัวจากอีวาโนโวออกมาเป็นศูนย์กลางการปกครองของเขตปกครองย่อย[[ยาโรสลาฟโอบลาสต์]]ซึ่งคงอยู่มาถึงทุกวันนี้
 
ครั้นภัยจาก[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ได้เข้ามารุกรานถึงโซเวียตในปี พ.ศ. 2484 (ค.ศ. 1941) ระยะนั้นยาโรสลาฟล์ลัฟล์ได้ฟื้นกลับขึ้นมาเป็น 1 ในเขตอุตสาหกรรมที่เข้มแข็งที่สุดของโซเวียตแล้วและได้เป็นฐานสำคัญแห่งหนึ่งในการผลิตชิ้นส่วน[[ยุทโธปกรณ์]]ให้กับกองทัพโซเวียตในการสู้รบ โดยเหล่าโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆในเมืองได้ระงับการผลิตสินค้าปรกติแล้วหันมาเพิ่มการผลิตสิ่งของจำเป็นต่อกองทัพทุกอย่างไม่ว่าจะเป็น เครื่องยนตร์และยางรถสำหรับรถบรรทุก, [[รถถัง]] และเครื่องบินของกองทัพ เสื้อผ้าเครื่องแบบ เต็นท์ผ้าใบ ต่อเรือสำหรับกองเรือลาดตระเวณแม่น้ำวอลกา แปรรูปอาหารส่งเป็นเสบียงให้กองทัพ แม้กระทั่งผลิตชิ้นส่วนอาวุธต่างๆเช่น รถถัง ระเบิด [[ขีปนาวุธคัทยุชช่าเครื่องยิงจรวดคัตยูชา]] (Katyusha) และ ปืนPPSh[[พีพีชา-41]]
 
ด้วยความสำคัญทั้งด้านการเป็นแหล่งอุตสาหกรรมหนุนหลังกองทัพโซเวียตและยังมีสะพานรถไฟข้ามแม่น้ำวอลกาในรัศมีที่อยู่ใกล้กับมอสโกมากที่สุด ยาโรสลาฟล์ลัฟล์จึงถูกฝ่าย[[นาซีเยอรมัน]]หมายตาที่จะยึดมาให้ได้ แม้ว่าทางฝ่ายนาซีเยอรมันจะไม่สามารถ[[เคลื่อนพล]]ทางภาคพื้นดินฝ่าแนวป้องกันของมอสโกมาจนถึงเมืองได้ แต่ก็ได้ส่งเครื่องบินมาโจมตี[[ทิ้งระเบิด]]ใส่เมืองทางอากาศอยู่เรื่อยๆตลอดช่วงปี พ.ศ. 2484-2486 (ค.ศ. 1941-1943) สร้างความเสียหายให้กับเมืองหลายครั้งและครั้งหนึ่งนั้น การทิ้งระเบิดจากทางฝ่ายนาซีเยอรมันได้ทำลายโรงงานของ Yaroslavl Tyre Factory เสียหายย่อยยับ ทว่าเมื่อการโจมตีเมืองทางอากาศหยุดลงแล้วก็มีการฟื้นฟูโรงงานกลับขึ้นมาใหม่จนสามารถทำการผลิตต่อไปได้ ซึ่งในระยะของสงครามที่อุตสาหกรรมของเมืองหันไปทำการผลิตสิ่งของต่างๆเพื่อสนับสนุนกองทัพนี่เอง อุตสาหกรรมของยาโรสลาฟล์ลัฟล์นั้นมีอัตราเติบโตของผลผลิตถึง 12.2%
 
ตามข้อมูลระบุว่า มีประชากรของเขตปกครองยาโรสลาฟล์โอบลาสต์ลัฟล์โอบลาสต์ทั้งหมดราวๆ 600,000 คนถูกส่งไปรบในแนวหน้า และในจำนวนนี้ประมาณ 200,000 คนเสียชีวิตไปในการรบ
 
อีกด้านหนึ่งนั้น ยาโรสลาฟล์ลัฟล์ได้กลายเป็นที่พักพิงของเด็กๆจาก[[เลนินกราด]]ซึ่งอพยพหนีออกจากเมืองเลนินกราดซึ่งถูกฝั่งนาซีเยอรมันปิดล้อมไว้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2484 (ค.ศ. 1941) โดยผ่านทาง[[ทะเลสาบ Ladogaลาโดกา]] ซึ่งกลายเป็นน้ำแข็งในช่วงหน้าหนาวซึ่งเรียกกันว่าปฏิบัติการ '''[[Road of Lifeถนนแห่งชีวิต]]''' และในยาโรสลาฟล์ลัฟล์นี้เองก็ได้เป็นที่ตั้งของ[[ค่ายกักกันนักโทษสงคราม]]ฝั่งเยอรมันของทางโซเวียตอีกด้วย
 
=== หลังสงครามโลกครั้งที่สองจนถึงก่อนขึ้นสหัสวรรษใหม่ ===
[[ไฟล์:Яр-строительство-октябрьского-моста-через-волгу-1960.jpg|thumbnail|right|ภาพถ่ายจากปี ค.ศ. 1960 ขณะกำลังก่อสร้างสะพานตุลาคมข้ามแม่น้ำวอลกา]]
เมื่อจบสงครามโลกครั้งที่สอง ยาโรสลาฟล์ลัฟล์ได้รับบทบาทในด้านการเป็นหนึ่งในเมืองกำลังหลักที่ช่วยดึงเศรษฐกิจของโซเวียตให้กลับมามั่นคงเข้มแข็ง การพัฒนาเสริมความเจริญของเมืองก็ได้เป็นไปอย่างรวดเร็วจนแม้กระทั่งฝั่งซ้ายของแม่น้ำวอลกาซึ่งแต่ดั้งเดิมไม่เคยมีการไปพัฒนาเพื่อใช้ประโยชน์ มีการก่อสร้าง[[อาคารชุด]]ขยายแหล่งที่อยู่อาศัยเป็นจำนวนมากจนในช่วงนี้เองที่เมืองมีประชากรมากกว่า 500,000 คนเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ตั้งแต่ก่อตั้งมา ในปี พ.ศ. 2494 (ค.ศ. 1951) ได้มีการมาเปิดศูนย์การศึกษาทางด้านการทหารในยาโรสลาฟล์ลัฟล์และปรับเปลี่ยนมาเรื่อยจนปัจจุบันนี้เป็นโรงเรียนสาขาของ[[กองทัพอากาศรัสเซีย]] ''Military Space Academy AF Mozhaysky''<ref name="YARZU">{{cite web|url=http://www.adm.yar.ru/YZRI/|title=Branch of Military Space Academy AF Mozhaysky (Yaroslavl)|publisher=adm.yar.ru (ภาษารัสเซีย)}}{{ลิงก์เสีย|date=พฤศจิกายน 2022 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref> ซึ่งสอนการใช้[[เรดาห์]]ตรวจจับอากาศยานขั้นสูงและการใช้[[ขีปนาวุธต่อต้านอากาศยาน]]
[[ไฟล์:RIAN archive 612748 Valentina Tereshkova.jpg|thumbnail|left|วาเลนตีน่า เตเรชโคว่านา เตเรชโควานักบินอวกาศหญิงคนแรกที่ได้เดินทางออกไปนอกโลก]]
ปี พ.ศ. 2504 (ค.ศ. 1961) [[โรงกลั่นน้ำมัน]] Novo-Yaroslavskiy refinery ได้เริ่มเปิดดำเนินงานเพิ่มความเข้มแข็งด้านอุตสาหกรรมให้กับเมือง ถัดมาอีกไม่นานก็มีการก่อสร้างสะพานใหม่เพื่อข้ามแม่น้ำสายหลักของเมืองทั้งสองสาย คือ '''[[สะพานมอสโก]]''' (Moscow Bridge) เชื่อมต่อถนน Moscow Avenue ที่เป็นถนนเส้นหลักของเมืองฝั่งด้านใต้ข้ามแม่น้ำโคตาโรสึล์มายังฝั่งเมืองเก่า และ '''[[สะพานตุลาคม]]''' (October Bridge) เป็นเส้นทางคมนาคมหลักข้ามแม่น้ำวอลกา และในช่วงนี้เองที่ยาโรสลาฟล์ลัฟล์ได้รับมอบหมายบทบาทการเป็นเมืองมุ่งเน้นทางการส่งเสริมด้าน[[วิทยาศาสตร์]] ซึ่งจากการได้รับมอบหมายนโยบายนั้นก็สะท้อนในเห็นด้วยความสำคัญทางประวัติศาสตร์หน้าหนึ่งของ[[วงการโครงการอวกาศของโซเวียต]] เมื่อ'''[[วาเลนตีน่านา เตเรชโคว่าเตเรชโควา]]''' ({{lang-en|Valentina Tereshkova}} {{lang-ru|Валентина Владимировна Терешкова}}) ผู้มีพื้นเพจากเขตปกครองยาโรสลาฟโอบลาสต์ได้กลายเป็นสตรีคนแรกที่ได้ขึ้นไปสู่อวกาศกับยาน[[ยานวอสตอกสตอค 6]] ในปี พ.ศ. 2506 (ค.ศ. 1963)<ref name="tereshkova">{{cite web|url=http://www.space.com/21571-valentina-tereshkova.html|title=Valentina Tereshkova: First Woman in Space|publisher=Space.com}}</ref>
 
ปี พ.ศ. 2514 (ค.ศ. 1971) เมืองยาโรสลาฟล์ลัฟล์ได้รับมอบเหรียญ [[Order of the Red Banner of Labourเครื่องอิสริยาภรณ์ธงแดงแห่งแรงงาน]] ในฐานะที่ทำคุณประโยชน์ให้แก่โซเวียตในด้านวัฒนธรรม, อุตสาหกรรม และ วิทยาศาสตร์ ก่อนจะได้รับอีก[[เหรียญเชิดชูเกียรติ]]ในปี พ.ศ. 2528 (ค.ศ. 1985) คือเหรียญ [[Order of October Revolutionเครื่องอิสริยาภรณ์การปฏิวัติเดือนตุลาคม]] ในฐานะที่ช่วยสนับสนุนให้[[ลัทธิคอมมูนิสม์คอมมิวนิสต์]]เติบโตอย่างมั่นคงหรือช่วยสร้างความเข้มแข็งให้แก่โซเวียตทั้งกิจทางทหารและกิจด้านพลเรือน
 
หลังจาก[[การล่มสลายลงของสหภาพโซเวียต]]ในช่วงทศตวรรษที่ 90 ยาโรสลาฟล์ลัฟล์เริ่มได้รับความสนใจจากชาวต่างชาติในด้านการเป็นเมืองที่ยังคงกลิ่นอายบริสุทธิ์ของความเป็นรัสเซียแท้ๆเอาไว้ได้และทั้งยังร่วมผ่านประวัติศาสตร์การเปลี่ยนแปลงต่างๆของชาติรัสเซียมาตลอดอายุเกือบพันปี<ref name="ํYahooYaro">{{cite web|url=http://voices.yahoo.com/yaroslavl-russia-where-russian-tradition-meets-european-82965.html?cat=37|title=Yaroslavl', Russia: Where Russian Tradition Meets European Sensibility|publisher=voices.yahoo.com}}{{ลิงก์เสีย|date=กันยายน 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref> ในช่วงเดียวกันเหล่าโบสถ์ อาราม [[ศาสนสถาน]]ต่างๆในเมืองซึ่งในสมัยการปกครองของคอมมูนิสต์คอมมิวนิสต์ถูกลดความสำคัญลงจนกลายเป็นเพียง[[พิพิธภัณฑ์]]หรือโกดังที่เก็บสินค้าก็ได้รับการคืนสิทธิ์ให้ใช้เป็นศาสนสถานเพื่อการเคารพบูชาอีกครั้ง ศาสนสถานที่ทรุดโทรมหรือถูกปิดลงไปจึงได้รับการบูรณะซ่อมแซมอย่างต่อเนื่องจนกลายเป็นจุดดึงดูดหลักของอุตสาหกรรมด้าน[[การท่องเที่ยว]]ของเมืองและความศิวิไลซ์แบบตะวันตกก็เริ่มเข้ามาปรากฏให้เห็นในเมือง เช่น ร้านฟาสต์ฟู้ดของ[[แม็คโดนัลด์]]ซึ่งปัจจุบันมีอยู่ในเมืองถึงสองสาขาด้วยกัน<ref name="ํMcYaro">{{cite web|url=http://wikitravel.org/en/Yaroslavl|title=Wikitravel : Yaroslavl|publisher=wikitravel.com}}</ref> มีการก่อสร้างโรงแรมใหม่ๆขึ้นเพื่อรองรับความสะดวกสบายแก่นักท่องเที่ยว รวมถึงเริ่มมีการจัดงานเทศกาลต่างๆในเมืองเพิ่มขึ้น อาทิ งาน '''Jazz on the Volga''' ซึ่งจะจัดทุกๆสองปีโดยถือว่าเป็นงานเทศกาล[[ดนตรีแจ๊ซ]]ที่มีอายุมากที่สุดของรัสเซีย<ref name="ํVolgaJazz">{{cite web|url=http://eng.music-gazeta.com/article/3991/|title=In Yaroslavl starts International Festival "Jazz on the Volga"|publisher=music-gazeta.com/|access-date=2013-12-29|archive-date=2016-03-28|archive-url=https://web.archive.org/web/20160328042134/http://eng.music-gazeta.com/article/3991/|url-status=dead}}</ref>
[[ไฟล์:1000 years of Yaroslavl (miniature sheet).jpg|thumbnail|right|แสตมป์พิเศษที่ระลึกอายุเมืองครบหนึ่งพันปีของยาโรสลาฟล์ลัฟล์]]
===ปี ค.ศ. 2000 เป็นต้นมา===
 
=== ปี ค.ศ. 2000 เป็นต้นมา ===
เมื่อยาโรสลาฟล์กำลังจะก้าวเข้าสู่อายุปีขึ้นหลักพัน ได้มีการพัฒนาปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเมืองเพื่อเป็นการพร้อมรับการฉลองวาระครบรอบหนึ่งพันปีพร้อมๆกับการที่อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของเมืองได้รับความสนใจมากขึ้นจากการได้รับยกย่องเป็น[[มรดกโลกทางวัฒนธรรม]]ของรัสเซียในปี พ.ศ. 2548 (ค.ศ. 2005) ซึ่งทางเมืองและเขตปกครองยาโรสลาฟล์โอบลาสต์ได้รับ[[งบประมาณ]]จำนวนมหาศาลใน[[การปรับปรุงเมือง]]เพื่อวาระนี้โดยเฉพาะ<ref name="ํYaroReg1000">{{cite web|url=http://www.yarregion.ru/eng/Pages/1000_years_of_Yaroslavl_The_1000-year_Anniversary_Celebrationin_Yaroslavlin_2010.aspx|title=The 1000-year Anniversary Celebration in Yaroslavl in 2010|publisher=Yaroslavl Oblast official website}}</ref> ทว่าก็มีความขัดแย้งเล็กๆน้อยๆในการอนุมัติสิ่งก่อสร้างใหม่เพื่อเตรียมเฉลิมฉลองวาระครบพันปีในอีกห้าปีหลังจากการได้รับเลือกเป็น[[มรดกโลก]] ตัวอย่างเช่น การสร้างโบสถ์ Cathedral of the Dormition บนเนินเหนือแหลมสเตรลก้า ซึ่งทาง[[คณะกรรมการของยูเนสโก้]]เป็นห่วงว่าด้วยความสูงของ[[ยอดโดม]]โบสถ์ถึง 60 เมตร จะทำให้ขัดกับความกลมกลืนเป็นหนึ่งเดียวของย่านเมืองเก่า แต่ที่สุดก็สามารถหารือตกลงกันได้จึงไม่ถูกถอดออกจากสถานะมรดกโลก
 
เมื่อยาโรสลาฟล์ลัฟล์กำลังจะก้าวเข้าสู่อายุปีขึ้นหลักพัน ได้มีการพัฒนาปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเมืองเพื่อเป็นการพร้อมรับการฉลองวาระครบรอบหนึ่งพันปีพร้อมๆกับการที่อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของเมืองได้รับความสนใจมากขึ้นจากการได้รับยกย่องเป็น[[มรดกโลกทางวัฒนธรรม]]ของรัสเซียในปี พ.ศ. 2548 (ค.ศ. 2005) ซึ่งทางเมืองและเขตปกครองยาโรสลาฟล์โอบลาสต์ได้รับลัฟล์โอบลาสต์ได้รับ[[งบประมาณ]]จำนวนมหาศาลใน[[การปรับปรุงเมือง]]เพื่อวาระนี้โดยเฉพาะ<ref name="ํYaroReg1000">{{cite web|url=http://www.yarregion.ru/eng/Pages/1000_years_of_Yaroslavl_The_1000-year_Anniversary_Celebrationin_Yaroslavlin_2010.aspx|title=The 1000-year Anniversary Celebration in Yaroslavl in 2010|publisher=Yaroslavl Oblast official website|access-date=2013-12-29|archive-date=2012-03-09|archive-url=https://web.archive.org/web/20120309091337/http://www.yarregion.ru/eng/Pages/1000_years_of_Yaroslavl_The_1000-year_Anniversary_Celebrationin_Yaroslavlin_2010.aspx|url-status=dead}}</ref> ทว่าก็มีความขัดแย้งเล็กๆน้อยๆในการอนุมัติสิ่งก่อสร้างใหม่เพื่อเตรียมเฉลิมฉลองวาระครบพันปีในอีกห้าปีหลังจากการได้รับเลือกเป็น[[มรดกโลก]] ตัวอย่างเช่น การสร้างโบสถ์ Cathedral of the Dormition บนเนินเหนือแหลมสเตรลก้า ซึ่งทาง[[คณะกรรมการของยูเนสโก้]]เป็นห่วงว่าด้วยความสูงของ[[ยอดโดม]]โบสถ์ถึง 60 เมตร จะทำให้ขัดกับความกลมกลืนเป็นหนึ่งเดียวของย่านเมืองเก่า แต่ที่สุดก็สามารถหารือตกลงกันได้จึงไม่ถูกถอดออกจากสถานะมรดกโลก
 
[[ไฟล์:Global_Policy_Forum_in_Yaroslavl_04.jpg|thumbnail|left|งานสัมนา Yaroslavl Global Policy Forum ในปี ค.ศ. 2010]]
'''รายชื่อสิ่งก่อสร้างเพื่อเฉลิมฉลองวาระก่อตั้งยาโรสลาฟล์ลัฟล์ครบหนึ่งพันปี'''
[[ไฟล์:Jubilee Bridge in Yaroslavl (stamp).jpg|thumbnail|right|แสตมป์รูปสะพาน Jubilee Bridge ซึ่งสร้างรับวาระครบหนึ่งพันปีของเมือง]]
 
* [[สวนสัตว์ยาโรสลาฟล์ลัฟล์]] ตั้งอยู่ทางฝั่งซ้ายของแม่น้ำวอลกา
* สะพานข้ามแม่น้ำวอลกาแห่งที่สอง Jubilee Bridge ตั้งอยู่เลยสะพาน October Bridge ห่างไปทางเหนือเชื่อมต่อกับ[[ถนนเลี่ยงเมือง]]ซึ่งก่อสร้างใหม่เช่นกัน
* [[พิพิธภัณฑ์ท้องฟ้าจำลอง]] ตั้งชื่อเป็นเกียรติแก่ วาเลนตีน่า เทเรชโคว่า
* โบสถ์ใหญ่ที่สุดของเมือง Cathedral of the Dormition
* สวนสาธารณะหนึ่งพันปี
* เปิด[[คณะละครสัตว์]]ประจำเมือง
* ปรับปรุ่งสวนสาธารณะบนแหลมสเตรลก้า มีการเพิ่ม[[น้ำพุ]]แสดงแสงสีประกอบดนตรีและเสาอนุสรณ์อุทิศแก่ยาโรสลาฟล์ลัฟล์ผู้ปราดเปรื่องและบุคคลสำคัญอื่นๆในประวัติศาสตร์
* ปรับปรุงทัศนียภาพรอบๆเมือง
[[ไฟล์:2014 Winter Olympics torch relay in Yaroslavl 002.JPG|thumbnail|right|ภาพการวิ่งคบเพลิงโอลิมปิกฤดูหนาวในเมืองยาโรสลาฟล์ลัฟล์]]
 
และก่อนหน้านั้น ทางรัฐบาลรัสเซียนำโดยประธานาธิบดีในขณะนั้นคือ[[ดมิทรี เมดเวเดฟ]]ก็ได้ดำเนินการเพิ่มโอกาสให้ยาโรสลาฟล์ลัฟล์เป็นที่รู้จักแก่ต่างชาติเพิ่มขึ้น ด้วยการจัด[[งานสัมนา]]ระดับนานาชาติ '''[[Yaroslavl Global Policy Forum]]''' ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 จนถึง 2554 (ค.ศ. 2009 จนถึง 2011) ในที่สุดครั้นเดือนกันยายน ปี พ.ศ. 2553 (ค.ศ. 2010) ยาโรสลาฟล์ลัฟล์ก็ได้จัดงานการเฉลิมฉลองครบอายุหนึ่งพันปีอย่างยิ่งใหญ่
 
วันที่ 7 กันยายน ปี พ.ศ. 2554 (ค.ศ. 2011) เกิดเหตุ[[เครื่องบินตก]]ที่สนามบินประจำเมือง ซึ่งเป็นเครื่องบินที่จะพานักกีฬาและโค้ชทีม[[ฮอกกี้]]ประจำเมืองไปแข่งขัน โดยเหตุการณ์เกิดในระหว่างที่ยาโรสลาฟล์ลัฟล์เป็นเจ้าภาพจัดงานสัมนา Global Policy Forum พอดี ทำให้ประธานาธิบดีเมดเวเดฟซึ่งมาเป็นประธานของงานรุดมาดูความคืบหน้าด้วยตัวเองในวันรุ่งขึ้น แล้วสั่งการให้[[อุตสาหกรรมการบินพาณิชย์]]ของรัสเซียต้องปรับปรุงด้านความปลอดภัยอย่างเร่งด่วนทันที<ref name="MedvedevCrash">{{cite web|url=http://www.businessweek.com/news/2011-09-08/medvedev-demands-aviation-overhaul-as-hockey-team-crash-kills-43.html|title=Medvedev Demands Aviation Overhaul as Hockey Team Crash Kills 43|publisher=Bloomberg businessweek}}</ref> โดยหากสายการบินขนาดกลางและเล็กแห่งใดไม่สามารถขยับตัวเองขึ้นมาให้ได้มาตรฐานความปลอดภัยที่กำหนดไว้ก็จะให้ระงับกิจการไป และหลังจากเหตุการณ์ครั้งนั้น มาตรฐานความปลอดภัยในอุตสาหกรรมการบินของรัสเซียก็เริ่มจะพัฒนาไปในทางที่ดีขึ้นจนในปีหลังๆจำนวนอุบัติเหตุก็มีลดลงกว่าแต่ก่อน
 
วันที่ 19 ตุลาคม ปี พ.ศ. 2556 (ค.ศ. 2013) คบเพลิง[[โอลิมปิกฤดูหนาว]]ซึ่งจะจัดขึ้นที่เมือง[[โซชี]]ในเดือนกุมภาพันธ์ปีถัดไปก็ได้เดินทางมาถึงยาโรสลาฟล์จากคัสโทรม่าลัฟล์จากคัสโทรม่า ก่อนจะส่งต่อไปที่เมืองโวลอกดาในวันรุ่งขึ้น โดยในจำนวนบุคคลที่ได้รับเกียรติเป็นผู้วิ่งคบเพลิงในเมืองก็ร่วมถึง วาเลนตีน่า เตเรชโคว่า ซึ่งปัจจุบันดำรงตำแหน่งส.ส.สภาดูม่าของเขตยาโรสลาฟโอบลาสต์ และ Andrey Kovalenko อดีตนักกีฬาฮอกกี้ทีมชาติรัสเซียและปัจจุบันเป็นประธานสหภาพนักกีฬาฮอกกี้ของลีกฮอกกี้ [[KHL]]<ref name="SochiYaro">{{cite web|url=http://torchrelay.sochi2014.com/en/city-yaroslavl|title=Day 13:Yaroslavl|publisher=Sochi Olympic Torch Relay website}}</ref>
 
[[ไฟล์:Coat of Arms of Yaroslavl (1778).png|125px|thumbnail|left|ตราเมืองดั้งเดิมของยาโรสลาฟล์ลัฟล์ที่ได้รับมาในปี ค.ศ. 1778]]
[[ไฟล์:Coat of Arms of Yaroslavl (1995).png|100px|thumbnail|right|ตราเมืองที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน]]
== ตราเมือง ==
[[ตราเมือง]]และธงประจำเมืองยาโรสลาฟล์ลัฟล์นั้นได้รับแรงบันดาลใจมาจากตำนานการก่อตั้งเมืองวีรกรรมการสังหารหมีดุร้ายของยาโรสลาฟผู้ปราดเปรื่องเป็นหลัก ในปี พ.ศ. 2321 (ค.ศ. 1778) ตราเมืองแบบแรกที่ได้รับมาพร้อมๆกับฐานะการปกครองตัวเองของจังหวัดยาโรสลาฟล์ลัฟล์ เป็นรูปหมีที่ยืนด้วยสองขาหลังถือขวานด้ามยาวสีทองพาดบ่าบนพื้นหลังสีเทาเงินรูปทรงโล่
 
ส่วนตราเมืองที่ใช้ในปัจจุบันนั้น ได้รับการออกแบบใหม่ในปี พ.ศ. 2538 (ค.ศ. 1995) โดยมีการเพิ่มสัญลักษณ์ [[Cap of Monomakh]] ซึ่งมีสถานะเทียบเท่า[[มหามงกุฏ]]ของอาณาจักรรัสเซียโบราณซ้อนไว้ที่ด้านบนของตัวกรอบโล่สีเงิน แสดงถึงความเป็นเมืองโบราณมีบทบาทและอำนาจในดินแดนรัสเซียมาช้านาน
 
โดยทั่วไปแล้ว สามารถพบเห็นการตกแต่งส่วนต่างๆของเมืองที่ใช้ตราเมืองเป็นส่วนประกอบได้ทั้งเป็นลายประดับตามรั้ว ม้านั่งสาธารณะ ไฟถนน หรือกระทั่งเป็นการตัดแต่งพุ่มไม้ออกมาเป็นรูปหมีแล้วใส่ขวานจำลองประกอบ โดยเฉพาะที่สวนสาธารณะบนแหลมสเตรลก้า จะมีแปลงดอกไม้ใหญ่ที่จัดตกแต่งไว้เป็นรูปตราเมือง แล้วใต้ตราเมืองนั้นจะมีเลขอายุของเมืองกำกับอยู่ซึ่งจะเปลี่ยนทุกๆปีเมื่อถึงวันคล้ายวันก่อตั้งเมืองในทุกวันเสาร์สุดท้ายของเดือนพฤษภาคม<ref name="GDR">{{cite web|url=http://www.calend.ru/travel/764/|title=Calendar of Events|publisher=Calend.ru website(ภาษา|language=รัสเซีย)}}</ref>
 
== สถานที่ท่องเที่ยว ==
 
ยาโรสลาฟล์ลัฟล์เป็นเมืองเด่นอันดับต้นๆเมืองหนึ่งของเส้นทางท่องเที่ยวซึ่งรู้จักกันในนาม "[[โกลเด้น ริง]]" (Golden Ring)<ref name="GDR">{{cite web|url=http://www.calend.ru/travel/764/|title=Calendar of Events|publisher=Calend.ru website}}</ref> อันประกอบไปด้วย[[เมืองโบราณ]]ที่มีบทบาทในประวัติศาสตร์ชาติรัสเซียมายาวนาน เช่น [[วลาดิเมียร์]] [[ซุซดัล]] รัสตอฟรอสตอฟ [[เปเรสลาฟล์]] โดยจุดเด่นของยาโรสลาฟล์ลัฟล์นั้นอยู่ที่มีโบสถ์ของนิกาย[[ออร์โธดอกซ์]]ที่สร้างในยุคคริสต์ศตรรษที่ 17-18 ผสมผสานแทรกอยู่กับสถาปัตยกรรมแบบยุโรปตะวันตกที่สร้างตามแปลนเมืองที่ได้รับจากมาในสมัยของ [[พระนางเจ้าแคทเธอรีนที่ 2]] ซึ่งความโดดเด่นตรงนี้นั่นเองซึ่งทำให้[[ยูเนสโก]] (UNESCO) ประกาศรับเขตเมืองเก่าของยาโรสลาฟล์ลัฟล์เข้าเป็นมรดกโลกอีกแห่งหนึ่งของประเทศรัสเซียในปี พ.ศ. 2548 (ค.ศ. 2005)<ref name="Unesco">{{cite web|url=http://whc.unesco.org/en/list/1170|title=Historical Centre of the City of Yaroslavl|publisher=UNESCO website}}</ref>
 
=== โบสถ์และศาสนสถาน ===
 
<center><gallery>
บรรทัดที่ 230 ⟶ 223:
 
 
* '''Church of Elijah the Prophet''' - ตั้งอยู่ที่จัตุรัส Sovietskaya ไม่ห่างริมฝั่งแม่น้ำวอลกามากนัก เป็น 1 ในโบสถ์ซึ่งได้รับการก่อสร้างในยุคที่โบสถ์ในเมืองสร้างขึ้นมาจากตระกูลพ่อค้าร่ำรวย ได้รับการยกย่องกันว่าเป็นโบสถ์ที่มีความโดดเด่นทางสถาปัตยกรรมมากที่สุดแห่งหนึ่งของเมือง โดยเฉพาะภาพวาดเฟรสโก้ภายในซึ่งครอบคลุมพื้นที่ทุกตารางนิ้วของผนังโบสถ์ โดยเป็นทั้งเรื่องในพระคัมภีร์และภาพวาดเล่าถึงวิถิชีวิตผู้คนทั่วไปในสมัยคริสตศวรรษที่ 17 ซึ่งได้จิตรกรชั้นเอกจากทั้งของเมืองคัสโทรมาซึ่งอยู่ห่างไปตามแม่น้ำวอลกาทางตะวันออกและศิลปินท้องถิ่นมือดีของยาโรสลาฟล์จำนวนลัฟล์จำนวน 15 คน มาร่วมช่วยกันวาดด้วยระยะเวลาราว 3 เดือน เพื่อเป็นการรักษาสภาพของจิตรกรรมฝาผนังภายใน โบสถ์จะไม่เปิดให้เข้าชมในช่วงเดือนตุลาคมถึงเมษายน<ref name="monatery">{{cite web|url=http://www.inyourpocket.com/russia/Yaroslavl/Essential-Yaroslavl_72413f|title=Essential Yaroslavl|publisher=In your pocket website|access-date=2013-12-25|archive-date=2013-09-27|archive-url=https://web.archive.org/web/20130927192312/http://www.inyourpocket.com/russia/Yaroslavl/Essential-Yaroslavl_72413f|url-status=dead}}</ref>
 
 
* '''St. John the Baptist Church''' - โบสถ์ที่สร้างขึ้นในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 มีจุดเด่นที่ยอดโดมหัวหอมจำนวนรวมกันถึง 15 โดมและก่อสร้างด้วยอิฐสีแดง ตั้งอยู่อีกฝั่งของแม่น้ำโคตาโรสึล์ตรงข้ามกับตัวเมืองหลักของยาโรสลาฟล์ลัฟล์ ถือเป็นสถาปัตยกรรมชิ้นเอกของเมืองและได้รับเลือกเป็นหนึ่งในสัญลักษณ์ของเมืองที่พิมพ์ลงในธนบัตร 1000 [[รูเบิล]]ของรัสเซีย เปิดให้เข้าชมได้ในช่วงเวลา 10 โมงถึง 5 โมงเย็น<ref name="Tutaev">{{cite web|url=http://travel.rbth.ru/travel/2013/06/21/tutaev_murakamis_russian_town_of_sheep_27307|title=Visit russian homeland of Murakami´s wild sheep|publisher=Russian Beyond the Headline|access-date=2013-12-25|archive-date=2013-12-19|archive-url=https://web.archive.org/web/20131219155508/http://travel.rbth.ru/travel/2013/06/21/tutaev_murakamis_russian_town_of_sheep_27307|url-status=dead}}</ref>
 
 
* '''อาราม Spaso-Preobrazhensky''' ({{lang-langx|en|Spaso-Preobrazhensky Monastery}}) - เป็นศาสนสถานหลักของยาโรสลาฟล์ลัฟล์ มีประวัติการมีอยู่ตั้งแต่ราวคริสต์ศตวรรษที่ 13 โดยเริ่มแรกเป็นสถานที่ให้การศึกษาด้านศาสนาขั้นสูง ทว่าสิ่งก่อสร้างดั้งเดิมนั้นถูกทำลายหมดสิ้นเมื่อครั้นไฟไหม้ใหญ่ในปี พ.ศ. 2044 (ค.ศ. 1501) สิ่งก่อสร้างของอารามที่เห็นในปัจจุบันนี้นั้นสร้างขึ้นมาใหม่ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ต่อมาในช่วงเวลาแห่งความวุ่นวาย (Time of the troubles) ที่นี่นั้นก็ได้เป็นที่ปักหลักของกองทัพราษฎรนำโดย คุซมา มินิน และ ดิมิทรี โพซาร์สกี้ ซึ่งจะนำกองทัพนี้ไปต่อสู้ขับไล่ชาวโปลและลิทัวเนียซึ่งยึดครองมอสโกตั้งแต่ปี พ.ศ. 2153 (ค.ศ. 1610) นอกจากมีโบสถ์ศิลาซึ่งถือเป็นสิ่งก่อสร้างที่เก่าแก่ที่สุดของเมืองซึ่งยังคงอยู่ถึงปัจจุบันและ[[หอระฆัง]]สูงเท่าอาคาร 6 ชั้นที่มีจุดเด่นด้วยการประดับลูกตุ้มหนามสีทองที่ยอดแล้ว ในอาณาบริเวณของอารามนี้ก็ยังมีพิพิธภัณฑ์อีก 2-3 แห่งซึ่งรวบรวมอาวุธและเกราะที่ใช้ในการต่อสู้สมัยโบราณ, พิพิธภัณฑ์รวบรวม[[ไอคอน]] ({{lang-langx|en|icon}}) หรือรูปเคารพทางศาสนาของนิกายออร์โธดอกซ์ และพิพิธภันฑ์ประวัติศาสตร์ทางธรรมชาติ<ref name="monatery">{{cite web|url=http://www.inyourpocket.com/russia/Yaroslavl/Essential-Yaroslavl_72413f|title=Essential Yaroslavl|publisher=In your pocket website}}</ref>
 
 
* '''Cathedral of the Dormition''' - เป็นโบสถ์ใหญ่ที่สุดของยาโรสลาฟล์ลัฟล์ตั้งอยู่บนจุดเนินเหนือแหลมสเตรลก้าที่แม่น้ำวอลกาและแม่น้าโคตาโรสึล์บรรจบกัน โบสถ์ที่เห็นปัจจุบันนี้สร้างเสร็จในปี พ.ศ. 2553 (ค.ศ. 2010) ในวาระฉลองครบหนึ่งพันปีของเมือง โดยก่อนหน้านั้น ณ ที่ตั้งจุดนี้ก็เคยมีโบสถ์ดั้งเดิมในชื่อเดียวกันตั้งอยู่มาก่อน หากแต่ตอนที่เมืองถูกโจมตีช่วงปราบกบฏฝ่ายขาวนั้นได้รับความเสียหายมาก จนในที่สุดช่วงภายใต้การปกครองแบบคอมมูนิสต์คอมมิวนิสต์ตัวโบสถ์เก่าก็ถูกทุบทำลายไปในช่วงทศวรรษที่ 1930<ref name="monatery">{{cite web|url=http://www.inyourpocket.com/russia/Yaroslavl/Essential-Yaroslavl_72413f|title=Essential Yaroslavl|publisher=In your pocket website}}</ref>
 
 
=== สถานที่น่าสนใจอื่นๆ ===
 
<center><gallery>
ไฟล์:Arts-museum-yar.jpg|จวนผู้ว่าจังหวัดยาโรสลาฟล์ลัฟล์ที่ปัจจุบันเป็นหอศิลป์ประจำเมือง<ref name="ArtHouse">{{cite web|url=http://www.yarregion.ru/eng/pages/culture_tourism_museums_of_the_yaroslavl_region.aspx|title=The Yaroslavl Museum of Russian Art|publisher=Yaroslavl Oblast official website|access-date=2014-01-26|archive-date=2013-12-16|archive-url=https://web.archive.org/web/20131216222828/http://www.yarregion.ru/eng/pages/culture_tourism_museums_of_the_yaroslavl_region.aspx|url-status=dead}}</ref>
ไฟล์:Губернаторский_дом_(Ярославль).jpg|ด้านในเขตรั้วของจวนผู้ว่า
ไฟล์:Yar_embankment.JPG|ถนนและทางเดินเท้าเลียบแม่น้ำวอลกา
บรรทัดที่ 259 ⟶ 252:
 
 
== เศรษฐกิจ ==
[[ไฟล์:Ярославский_шинный_завод.jpg|thumbnail|right|Yaroslavl Tyre Factory โรงงานผลิตยางรถยนต์สังเคราะห์ในเมืองยาโรสลาฟล์ลัฟล์]]
ด้านอุตสาหกรรมเป็นที่มาของรายได้หลักของเมือง ด้วยยาโรสลาฟล์ลัฟล์นั้นมีรากฐานทางอุตสาหกรรมที่เข้มแข็งมาตลอดสามร้อยปีที่ผ่านมา ซึ่งอุตสาหกรรมใหญ่ๆของเมืองนั้นประกอบไปด้วยอุตสาหกรรม[[วิศวกรรมทางเครื่องจักรกล]] โรงกลั่นน้ำมัน อุตสาหกรรมด้านการผลิต[[ยางรถ]] แปรรูปอาหาร เสื้อผ้าและสิ่งทอ และในช่วงไม่กี่ปีหลังที่ผ่านมา ได้มีการส่งเสริม[[การลงทุน]]ด้านอุตสาหกรรมให้ต่างชาติเข้ามาลงทุนเปิดกิจการ<ref name="investment">{{cite web|url=http://city-yaroslavl.ru/en/chpages/Investment.aspx|title=Investment|publisher=city-yaroslavl.ru/|access-date=2014-01-26|archive-date=2016-03-10|archive-url=https://web.archive.org/web/20160310021004/http://city-yaroslavl.ru/en/chpages/Investment.aspx|url-status=dead}}</ref> ซึ่งเท่าที่ผ่านมาผู้ลงทุนใหญ่ๆได้แก่ โรงงานผลิต[[เครื่องจักรกล]]ด้านงานก่อสร้างของ [[Komatsu]]<ref name="komatsu">{{cite web|url=http://yarreg.ru/articles/20131004171409|title=In Yaroslavl opened a demonstration center of "Komatsu".|publisher=Yaroslavl region}}</ref> และ โรงงานผลิตยาของบริษัท [[Takeda]] จากญี่ปุ่น<ref name="takeda">{{cite web|url=http://yarreg.ru/articles/20130906130945|title=In Yaroslavl opened a new pharmaceutical production.|publisher=Yaroslavl region}}</ref>
 
โรงกลั่นน้ำมันของยาโรสลาฟล์ลัฟล์ '''Novo-Yaroslavskiy refinery''' นั้นตั้งขึ้นมาตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ปัจจุบันอยู่ในการบริหารของบริษัทน้ำมัน [[Slavneft]] นับจากปี พ.ศ. 2538 (ค.ศ. 1995) เป็นต้นมา โดยโรงกลั่นน้ำมันนี้ถือว่ามีขนาดใหญ่ที่สุดในภูมิภาครัสเซียเหนือด้านฝั่งยุโรป มีกำลังการผลิตประมาณ 15 ล้านตันต่อปี<ref name="oil1">{{cite web|url=http://www.slavneft.ru/eng/company/geography/yaroslavl-yanos/|title=OAO SLAVNEFT-YAROSLAVNEFTEORGSINTEZ|publisher=SLAVNEFT official website}}</ref><ref name="oil2">{{cite web|url=http://www.refinery.yaroslavl.su/index.php?module=content&mode=pages&name=about|title=About the company|publisher=Yaroslavl refinery official website}}</ref>
 
== การเดินทางคมนาคม ==
[[ไฟล์:YarGlav.JPG|thumbnail|right|สถานีรถไฟหลักของเมือง Yaroslavl Glavny]]
 
การเดินทางมายังยาโรสลาฟล์นั้นลัฟล์นั้น นับว่ายังค่อนข้างสะดวกถ้าเทียบกับหลายๆเมืองในรัสเซียที่ไม่ใช่เมืองใหญ่เจริญมากๆอย่างมอสโก หรือ เซนต์ปีเตอร์สเบิร์กปีเตอส์เบิร์ก เพราะด้วยที่เมืองเป็น[[ชุมทาง]]ของการคมนาคมแทบทุกประเภท จึงมีทางเลือกหลากหลายในการเดินทางทว่าก็ยังค่อนข้างจะใช้เวลามากพอสมควร
 
* '''ทางถนน''' - ทางรถยนต์ใช้ทางหลวงสายเหนือ M-8 (มอสโก-ยาโรสลาฟล์ลัฟล์-โวลอกดา-อาร์คันเกลสค์) ซึ่งตั้งต้นจากกรุงมอสโก และ มีรถโดยสารเดินทางจากกรุงมอสโกมายังยาโรสลาฟล์ลัฟล์ใช้เวลาเดินทางประมาณ 5-7 ชั่วโมง<ref name="Tutaev">{{cite web|url=http://travel.rbth.ru/travel/2013/06/21/tutaev_murakamis_russian_town_of_sheep_27307|title=Visit russian homeland of Murakami´s wild sheep|publisher=Russian Beyond the Headline}}</ref> โดยท่ารถโดยสารปลายทางเมื่อมาถึงยาโรสลาฟล์ลัฟล์จะอยู่ที่สถานีรถไฟ Moskovsky ซึ่งเป็นสถานีรถไฟอีกแห่งของเมืองก่อนจะข้ามฝั่งแม่น้ำโคตาโรสึล์ไปถึงสถานีรถไฟหลัก<ref name="busstation">{{cite web|url=http://www.waytorussia.net/GoldenRing/Yaroslavl/Transport.html|title=Yaroslavl: getting to and from Yaroslavl by train or by bus, schedules, timetable, prices. Getting around Yaroslavl
| publisher = Way to Russia}}</ref>
 
* '''ทางรถไฟ''' - สามารถเดินทางมาจากกรุงมอสโกได้จาก[[สถานีรถไฟยาโรสลาฟสกี้]] (Yaroslavsky) ซึ่งเป็นสถานีตั้งต้นของทางรถไฟสายเหนือที่สามารถไปยังสาย[[ทรานส์ไซบีเรีย]]ได้ ใช้เวลาเดินทางประมาณ 4 ชั่วโมงจึงจะมาถึงยาโรสลาฟล์<ref name="train">{{cite web|url=http://www.russianrailways.com/routes/Moscow-Yaroslavl/|title=Train Timetable for Moscow - Yaroslavlลัฟล์
*'''ทางถนน''' - ทางรถยนต์ใช้ทางหลวงสายเหนือ M-8 (มอสโก-ยาโรสลาฟล์-โวลอกดา-อาร์คันเกลสค์) ซึ่งตั้งต้นจากกรุงมอสโก และ มีรถโดยสารเดินทางจากกรุงมอสโกมายังยาโรสลาฟล์ใช้เวลาเดินทางประมาณ 5-7 ชั่วโมง<ref name="Tutaev">{{cite web|url=http://travel.rbth.ru/travel/2013/06/21/tutaev_murakamis_russian_town_of_sheep_27307|title=Visit russian homeland of Murakami´s wild sheep|publisher=Russian Beyond the Headline}}</ref> โดยท่ารถโดยสารปลายทางเมื่อมาถึงยาโรสลาฟล์จะอยู่ที่สถานีรถไฟ Moskovsky ซึ่งเป็นสถานีรถไฟอีกแห่งของเมืองก่อนจะข้ามฝั่งแม่น้ำโคตาโรสึล์ไปถึงสถานีรถไฟหลัก<ref name="busstation">{{cite web|url=http://www.waytorussia.net/GoldenRing/Yaroslavl/Transport.html|title=Yaroslavl: getting to and from Yaroslavl by train or by bus, schedules, timetable, prices. Getting around Yaroslavl
|publisher=Way to Russia}}</ref>
 
|publisher=Russian Railways website(ภาษาอังกฤษ)}}</ref> โดยสถานีรถไฟหลักของเมืองคือ '''[[Yaroslavl Glavny]]''' ตั้งอยู่ฝั่งเดียวกับตัวเมืองเก่าของยาโรสลาฟล์ลัฟล์ข้ามฝั่งแม่น้ำโคตาโรสึล์ไป
*'''ทางรถไฟ''' - สามารถเดินทางมาจากกรุงมอสโกได้จาก[[สถานีรถไฟยาโรสลาฟสกี้]](Yaroslavsky) ซึ่งเป็นสถานีตั้งต้นของทางรถไฟสายเหนือที่สามารถไปยังสาย[[ทรานส์ไซบีเรีย]]ได้ ใช้เวลาเดินทางประมาณ 4 ชั่วโมงจึงจะมาถึงยาโรสลาฟล์<ref name="train">{{cite web|url=http://www.russianrailways.com/routes/Moscow-Yaroslavl/|title=Train Timetable for Moscow - Yaroslavl
|publisher=Russian Railways website(ภาษาอังกฤษ)}}</ref> โดยสถานีรถไฟหลักของเมืองคือ '''[[Yaroslavl Glavny]]''' ตั้งอยู่ฝั่งเดียวกับตัวเมืองเก่าของยาโรสลาฟล์ข้ามฝั่งแม่น้ำโคตาโรสึล์ไป
[[ไฟล์:Volga-terminal-yar.jpg|thumbnail|right|ท่าเทียบเรือนักท่องเที่ยวริมแม่น้ำวอลกา]]
 
* '''ทางเครื่องบิน''' - สนามบินของยาโรสลาฟล์คือลัฟล์คือ '''[[สนามบินทูโนชน่า]]''' ({{lang-langx|en|Tunoshna Airport}} {{lang-langx|ru|Туношна}}) ตั้งอยู่ห่างไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้จากใจกลางเมืองราวๆ 18 กิโลเมตร เป็นสนามบินขนาดเล็กที่มักใช้ในการขนส่งสินค้ามากกว่ารองรับเครื่องบินโดยสารจึงไม่ค่อยมีเที่ยวบินโดยสารให้บริการมากนัก โดยเฉลี่ยจะมีเพียงวันละ 1-2 เที่ยวบินจากสนามบิน Domodedovo ในกรุงมอสโกหรือบางครั้งมีบริการเที่ยวบินมาจากเซนต์ปีเตอร์สเบิร์กปีเตอส์เบิร์ก ซึ่งแต่ละช่วงนั้นไม่แน่นอนว่าจะมีสายการบินใดให้บริการเที่ยวบินมายังยาโรสลาฟล์หรือไม่ลัฟล์หรือไม่ ควรเช็คกับทางสายการบินหรือเว็บไซต์ของสนามบิน<ref name="Tunoshna">{{cite web|url=http://www.yaravia.ru/|title=Tunoshna Airport, Yaroslavl
| publisher = Yaroslavl Tunoshna Airport official website (ภาษารัสเซีย)}}</ref> ปรกติแล้วหากมาด้วยเที่ยวบินจากมอสโก จะใช้เวลาเพียงประมาณไม่ถึงชั่วโมงในการเดินทาง
 
* '''ทางน้ำ''' - ปัจจุบันนี้การเดินทางมายังยาโรสลาฟล์ลัฟล์โดยทางเรือเริ่มได้รับความนิยมมากขึ้น โดยมักมี[[เรือล่องแม่น้ำ]]ให้บริการนักท่องเที่ยวจาก[[คลองมอสโก]]มายังต้นแม่น้ำวอลกาแล้วล่องไปจนถึงปลายแม่น้ำซึ่งจะผ่านเมืองหลายๆเมืองเช่น ยาโรสลาฟล์ลัฟล์ นิซนีนอฟโกรอด [[คาซานซัน]] ฯลฯ<ref name="rivercruise">{{cite web|url=http://www.russian-river-cruises.com/destinations#Long|title=Long vacation voyages: Volga, Kama and Don cruises|publisher=russian-river-cruises.com}}</ref> แต่การเดินทางด้วยเรือมักใช้เวลานาน จึงเหมาะจะเป็นทางเลือกสำหรับผู้ที่ต้องการทัวร์ชมวิวแม่น้ำและแวะตามเมืองริมแม่น้ำมากกว่าเป็นตัวเลือกการเดินทางให้ถึงเมืองยาโรสลาฟล์ลัฟล์เพียงอย่างเดียวโดยใช้ระยะเวลาให้น้อยที่สุด
[[ไฟล์:Yaroslavl trolleytrolleybus 181 2011-01.jpg|thumbnail|left|โทรล์เลย์บัสในเมืองยาโรสลาฟล์ลัฟล์]]
 
 
=== ระบบขนส่งมวลชนในเมือง ===
 
ภายในเมืองค่อนข้างจะมีระบบขนส่งมวลชนที่หลากหลาย ทั้งรถเมล์โดยสาร โทรย์เลย์บัส รถราง มินิบัส/รถตู้ และแท็กซี่
 
ในจำนวนนี้ ตัวเลือกที่ได้รับความนิยมมากที่สุดคือรถเมล์โดยสารธรรมดา กับ มินิบัส/รถตู้ ส่วนระบบเดินรถรางไฟฟ้าของยาโรสลาฟล์ลัฟล์เป็นหนึ่งในระบบรถรางที่เก่าแก่ที่สุดในรัสเซีย แต่ในช่วงปีหลังๆได้มีการยกเลิกเส้นทางรถรางบางสายแล้วให้บริการรถเมล์โดยสารทับเส้นทางนั้นแทน เช่น ในเขตเมืองเก่าซึ่งได้มีการยกเลิกเส้นทางรถรางที่ผ่านบริเวณนั้นและเคลื่อนย้ายระบบรถรางออกโดยสิ้นเชิงหลังจากได้รับเลือกเป็นมรดกโลก
 
== กีฬา ==
 
[[ไฟล์:LokototivLokomotiv 2009.jpg|215px|thumbnail|left|ทีมฮอกกี้ประจำเมือง '''โลโกโมทีฟ ยาโรสลาฟล์ลัฟล์''']]
 
ยาโรสลาฟล์ลัฟล์นั้นเป็นที่รู้จักในรัสเซียด้วยเป็นถิ่นกำเนิดของทีมฮอกกี้ '''Hockey Club Lokomotiv''' ({{lang-langx|ru|ХК Локомотив}}) หรือที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายภายนอกรัสเซียในชื่อ [[โลโกโมทีฟ ยาโรสลาฟล์ลัฟล์]] ({{lang-langx|en|Lokomotiv Yaroslavl}}) ซึ่งเล่นอยู่ในลีกฮอกกี้สูงสุดของทวีปยุโรปคือ '''ลีกKHL''' (Kontinental Hockey League) โดยเคยได้แชมป์ลีกฮอกกี้ของรัสเซียในฤดูกาล 1996-1997, 2001-2002 และ 2002-2003 ทว่าช่วงเริ่มต้นฤดูกาล 2011-2012 ในวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2554 (ค.ศ. 2011) ทีมได้ประสบกับหายนะอย่างใหญ่หลวง เมื่อเครื่องบินเช่าเหมาลำที่กำลังจะพาทีมไปแข่งนัดเปิดฤดูกาลที่เมือง[[มินสก์นสค์]] [[ประเทศเบลารุส]] ได้ประสบเหตุตกใกล้กับแม่น้ำวอลกาไม่ห่างจากสนามบินทูโนชน่าขณะพยายามจะทำการขึ้นบิน เป็นเหตุให้ผู้เล่นและสตาฟฟ์โค้ชที่อยู่บนเครื่องเสียชีวิตทั้งหมด 37 คน โดยมีบุคลากรของทีมเพียงสองคนเท่านั้นที่รอดชีวิตคือ Maxim Zyuzyakin ซึ่งเป็นผู้เล่นที่ไม่ได้เดินทางไปมินสก์นสค์ด้วยเนื่องจากต้องการให้พักตัวไว้สำหรับการแข่งขันเกมต่อไป<ref name="zyuzyakin">{{cite web|url=http://www.iihf.com/home-of-hockey/news/news-singleview/browse/1/recap/6053.html?tx_ttnews%5BpS%5D=1314828000&tx_ttnews%5BpL%5D=2591999&tx_ttnews%5Barc%5D=1&tx_ttnews%5BbackPid%5D=187&cHash=15cd8f2999|title=
Life must go on in Yaroslavl|date=8 September 2011|publisher=International Ice Hockey Federation website}}</ref> และ Jorma Valtonen ซึ่งเป็นโค้ชผู้รักษาประตูที่ไม่ได้มีกำหนดเดินทางไปพร้อมกับทีม<ref name="valtonen">{{cite web|url=http://www.thestar.com/sports/hockey/2011/09/08/feschuk_lastminute_decision_to_stay_spared_coachs_life.html|title=Feschuk: Last-minute decision to stay spared coach’s life|date=8 September 2011|publisher=http://www.thestar.com/}}</ref>
 
{{Main |เหตุเครื่องบินโลโคโมทิฟ_ยาโรสลาฟตก_พ.ศ._2554}}
บรรทัดที่ 304 ⟶ 298:
 
 
==== ทีมกีฬาอื่นๆของเมือง ====
 
* ทีม[[ฟุตบอล]]ประจำเมืองคือ '''[[ชินนิก ยาโรสลาฟล์ลัฟล์]]''' ({{lang-langx|en|Shinnik Yaroslavl}} {{lang-langx|ru|Шинник}}) สนามเหย้าคือ [[ชินนิก สเตเดียม]]<ref name="shinnik">{{cite web|url=http://th.soccerway.com/teams/russia/fk-shinnik-yaroslavl/1850/|title=FK SHINNIK YAROSLAVL|publisher=Soccerway.com|access-date=2014-01-26|archive-date=2013-09-08|archive-url=https://web.archive.org/web/20130908092030/http://th.soccerway.com/teams/russia/fk-shinnik-yaroslavl/1850/|url-status=dead}}</ref>
* ทีม[[วอลเลย์บอล]]ชาย '''[[ยาโรสลาวิช]]''' ({{lang-langx|en|Yaroslavich}} {{lang-langx|ru|Ярославич}}) สนามเหย้าคือ สนามกีฬาในร่ม "Atlant"<ref name="Yaroslavich">{{cite web|url=http://www.yarvolley.ru/|title=Volleyball Club 'Yaroslavich'
|publisher=Soccerway.com}}</ref>
| publisher = Yaroslavich official website}}</ref>
*ทีม[[วอลเลย์บอล]]ชาย '''[[ยาโรสลาวิช]]''' ({{lang-en|Yaroslavich}} {{lang-ru|Ярославич}}) สนามเหย้าคือ สนามกีฬาในร่ม "Atlant"<ref name="Yaroslavich">{{cite web|url=http://www.yarvolley.ru/|title=Volleyball Club 'Yaroslavich'
|publisher=Yaroslavich official website}}</ref>
 
[[ไฟล์:Memorial_sign_sister-city_of_Yaroslavl_(back).jpg|175px|thumbnail|right|หินจารึกรายชื่อเมืองพี่น้องของยาโรสลาฟล์ลัฟล์และระยะทาง]]
 
== รายชื่อเมืองพี่น้องของยาโรสลาฟล์ลัฟล์ ==
 
 
* {{flagicon|USA}} [[เบอร์ลิงตัน]], [[รัฐเวอร์มอนท์]] - [[สหรัฐอเมริกา]]
* {{flagicon|POR}} [[กูอิงบรา]] - [[โปรตุเกส]]
* {{flagicon|Vietnam}} [[ดานัง]] - [[เวียดนาม]]
* {{flagicon|UK}} [[เอ็กซิเตอร์]] - [[สหราชอาณาจักร]]
* {{flagicon|GER}} [[ฮาเนา]] - [[เยอรมนี]]
* {{flagicon|GER}} [[คัสเซิล]] - [[เยอรมนี]]
* {{flagicon|FIN}} [[ยูแวสกูแล]] - [[ฟินแลนด์]]
* {{flagicon|ITA}} [[ปาแลร์โม]] - [[อิตาลี]]<ref name="palermo">{{cite web|url=http://voiceofrussia.com/2012_12_12/Palermo-and-Yaroslavl-are-twin-cities/|title=Palermo and Yaroslavl are twin cities|date=12 December 2012|publisher=The Voice of Russia|access-date=2013-11-05|archive-date=2014-08-06|archive-url=https://web.archive.org/web/20140806044702/http://voiceofrussia.com/2012_12_12/Palermo-and-Yaroslavl-are-twin-cities/|url-status=dead}}</ref>
* {{flagicon|FRA}} [[ปัวตีเย]] - [[ฝรั่งเศส]]
 
== อ้างอิง ==
บรรทัดที่ 331 ⟶ 324:
 
== ข้อมูลเพิ่มเติม ==
{{wikivoyage|Yaroslavl}}
*http://www.yaroslavl-online.com/history.html
* http://www.themoscowtimesyaroslavl-online.com/beyond_moscow/yaroslavlhistory.html
* http://www.themoscowtimes.com/beyond_moscow/yaroslavl.html {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20130831132019/http://www.themoscowtimes.com/beyond_moscow/yaroslavl.html |date=2013-08-31 }}
*http://city-yaroslavl.ru/en/chpages/Default.aspx
* http://city-yaroslavl.ru/en/chpages/Default.aspx {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20150829072305/http://city-yaroslavl.ru/EN/chpages/Default.aspx |date=2015-08-29 }}
* http://yarreg.ru/ - เว็บข่าวสารทั่วไปของเมืองยาโรสลาฟล์ลัฟล์และเมืองอื่นๆในยาโรสลาฟโอบลาสต์ (ภาษารัสเซีย)
* http://russiatrek.org/yaroslavl-city
 
[[หมวดหมู่:ยาโรสลาฟล์ลัฟล์]]
[[หมวดหมู่:แหล่งมรดกโลกในประเทศรัสเซีย]]
[[หมวดหมู่:เมืองในประเทศรัสเซีย]]