ພະບາດສົມເດັດພະພຸດທະເລີດຫຼ້ານະພາໄລ
ພະບາດສົມເດັດພະພຸດທະເລີດຫຼ້ານະພາໄລ | |
---|---|
| |
ພະບໍລົມນາມາພິໄທ | ສິນ |
ພະປໍລະມາພິໄທ | ພະບາດສົມເດັດພະບໍຣົມຣາຊາທິຣາດຣາມາທິບໍດີ ສີສິນທະຣະບໍຣົມມະຫາຈັກກະພັດດິຣາຊາທິຣາດທິບໍດິນ ທໍຣະນິນທາທິຣາດ ຣັດຕະນາກາດພາສສະກໍຣະວົງ ອົງປໍຣະມາທິເບດ ຕີພູວະເນດວໍຣະນາຍົກ ດິຫຼົກຣັດຕະນະຣາດຊາດອາຊາວະໄສ ສະໝຸໄທດະໂຣມົນ ສາກົນຈັກກະວາລາທິເບນ ສຸຣິເຍາທາທິບໍດິນ ຫະຫຣິຫະຣິນທາ ທາດາທິບໍດີ ສີວິບູນຍະຄຸນອະກະນິດ ຣິດທິຣາເມສວນມະຫັນ ບໍຣົມທັນມິກກະຣາຊາທິຣາດເດໂຊໄຊ ພົມເທພາດິເທບນະຣຶບໍດິນ ພູມິນທະຣະປໍຣະມາທິເບດ ໂລກກະເຊດວິສຸດ ຣັດຕະນະມະກຸດປະກາດ ຄະຕາມະຫາພຸດທາງກູນບໍຣົມບໍພິດ ພະພຸດທະເຈົ້າຢູ່ຫົວ |
ພະລາຊະອິສະລິຍະຍົດ | ພະເຈົ້າກຸງສີອະຍຸດທະຍາ |
ລາຊະວົງ | ຈັກກີ |
ຄອງລາດ | 7 ກັນຍາ ຄ.ສ. 1809 – 21 ກໍລະກົດ ຄ.ສ. 1824 |
ບໍລົມລາຊາພິເສກ | 17 ກັນຍາ ຄ.ສ. 1809 |
ໄລຍະຄອງລາດ | 14 ປີ |
ລາຊະການກ່ອນໜ້າ | ພະບາດສົມເດັດພະພຸດທະຍອດຟ້າຈຸລາໂລກມະຫາລາດ |
ລາຊະການຕໍ່ໄປ | ພະບາດສົມເດັດພະນັ່ງເກົ້າເຈົ້າຢູ່ຫົວ |
ວັດປະຈຳລາຊະການ | ວັດອະຣຸນຣາດຊະວະຣາຣາມ |
ພະບໍລົມມະອັດຖິ | ຫໍພະທາດມົນທຽນ ໃນພະບໍລົມມະຫາລາຊະວັງ |
ຂໍ້ມູນສ່ວນພະອົງ | |
ພະລາຊະສົມພົບ | 24 ກຸມພາ ຄ.ສ. 1767 |
ບ່ອນທີ່ພະລາຊະສົມພົບ | ນະ ບ້ານອຳພະວາ ເມືອງສະໝຸດສົງຄາມ ອານາຈັກທົນບຸລີ |
ສະຫວັນຄົດ | 21 ກໍລະກົດ ຄ.ສ. 1824 (56 ພັນສາ) |
ບ່ອນທີ່ສິ້ນພະຊົນ | ນະ ພະລາຊະວັງຫຼວງ ບາງກອກ ອານາຈັກຣັດຕະນະໂກສິນ |
ພະລາດຊະບິດາ | ພະບາດສົມເດັດພະພຸດທະຍອດຟ້າຈຸລາໂລກມະຫາລາດ |
ພະລາດຊະມານດາ | ສົມເດັດພະອະມະຣິນທາບໍຣົມລາຊິນີ |
ພະມະເຫສີ | ສົມເດັດພະເຈົ້າຫຼານເທີ ເຈົ້າຟ້າບຸນຣອດ ສົມເດັດພະເຈົ້ານ້ອງນາງເທີ ເຈົ້າຟ້າກຸນທົນທິບພະຍະວະດີ |
ພະສະໜົມ | 56 ທ່ານ |
ພະລາດຊະບຸດ | 73 ພະອົງ |
ພະບາດສົມເດັດພະບໍລົມລາຊະພົງເຊດມະເຫສວນສຸນທອນ ພະພຸດທະເລີດຫຼ້ານະພາໄລ (ໄທ: พระบาทสมเด็จพระบรมราชพงษเชษฐมเหศวรสุนทร พระพุทธเลิศหล้านภาลัย, ພຣະບາທສມເດັຈພຣະບຣມຣາຊພງສເຊສຖມເຫສວຣສຸນທຣ ພຣະພຸທທເລິສຫລ້ານພາລັຍ; 24 ກຸມພາ ຄ.ສ. 1767 – 21 ກໍລະກົດ ຄ.ສ. 1824) ແມ່ນພະລາຊະໂອລົດພະອົງທີ 4 ໃນພະບາດສົມເດັດພະພຸດທະຍອດຟ້າຈຸລາໂລກມະຫາລາດ ແລະເປັນກະສັດອົງທີ 2 ຂອງສະຫຍາມໃນສະໄໝລາຊະວົງຈັກກີ ປົກຄອງຮະຫວ່າງ ຄ.ສ. 1809 ເຖິງ ຄ.ສ. 1824 ໃນປີ ຄ.ສ. 1809 ເຈົ້າຟ້າສິມ ຫຼື ກົມຫຼວງອິດສະຫຣະສຸນທອນ ພະລາຊະໂອລົດອົງໂຕສືບລາຊະບັນລັງຕໍ່ຈາກລາຊະການທີ 1 ພະລາຊະບິດາຜູ້ສະຖາປະນາລາຊະວົງຈັກກີເປັນ ພະບາດສົມເດັດພະພຸດທະເລີດຫຼ້ານະພາໄລ ລາຊະສະໄໝຂອງພະອົງສະຫງົບສຸກ ປາດສະຈາກຄວາມຂັດແຍ້ງ ລາຊະສະໄໝຂອງພະອົງແມ່ນ "ຍຸກຄຳຂອງວັນນະຄະດີ" ເນືອງຈາກພະອົງຊົງອຸບປະຖຳກະວີຫຼາຍຄົນໃນລາຊະສຳນັກ ແລະພະອົງເອງກົມີຊື່ສຽງໃນຖານະກະວີແລະສິນລະປິນ ກະວີທີ່ໂດດເດ່ນທີ່ສຸດໃນລາຊະສຳນັກຄືສຸນທອນພູ່
พระราชประวัติ
ແມ່ແບບ:พระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี
ก่อนครองราชย์
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย มีพระนามเดิมว่า ฉิม พระราชสมภพเมื่อวันพุธ ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 4 ปีกุน นพศก จ.ศ. 1129 ตรงกับวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2311 (เมื่อเทียบปฏิทินสุริยคติแล้ว) เป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (ขณะทรงมีบรรดาศักดิ์เป็นหลวงยกรบัตรเมืองราชบุรี) ประสูติแต่ท่านผู้หญิงนาค (ภายหลังเฉลิมพระนามเป็นสมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี) เมื่อเจริญพระชนม์ได้ทรงศึกษาในสำนักพระพนรัตน์ (ทองอยู่) วัดบางว้าใหญ่ และได้ติดตามสมเด็จพระบรมชนกนาถไปในการสงครามทุกครั้ง[1]
ในปี พ.ศ. 2325 เมื่อสมเด็จพระบรมชนกนาถปราบดาภิเษกเป็นปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรีแล้ว จึงได้รับสถาปนาเป็นสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร[2] ถึงวันอาทิตย์ ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 4 ปีขาล พ.ศ. 2349 (นับแบบปัจจุบันเป็นวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2350) เมื่อสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท เสด็จทิวงคต สมเด็จพระบรมชนกนาถจึงให้รับอุปราชาภิเษกเป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคล[3]
ครองราชย์
[[ไฟล์:View of the city of Bangkok 1822.jpg|thumb|right|ทิวทัศน์ของเมืองกรุงรัตนโกสินทร์ ในปี พ.ศ. 2365]] [[ไฟล์:วัดช่องนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร (53).jpg|thumb|ขณะทรงช้าง ในจิตรกรรมฝาผนังวัดช่องนนทรี ใช้แบ่งภาพนี้เรียกว่า สินเทา]] เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชประชวรพระโสภะอยู่ 3 ปีก็เสด็จสวรรคต[4]ในวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2352 ขณะมีพระชนมพรรษาได้ 73 พรรษา นับเวลาในการเสด็จครองราชย์ได้นานถึง 27 ปี สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชกรมพระราชวังบวรสถานมงคลจึงได้สำเร็จราชการแผ่นดินต่อมา เมื่อจัดการพระบรมศพเสร็จแล้ว พระบรมวงศานุวงศ์ขุนนางและพระราชาคณะจึงกราบบังคมทูลเชิญเสด็จขึ้นผ่านพิภพ[5]
ต่อมาวันที่ 10 กันยายน พบหนังสือฟ้องว่าเจ้าฟ้ากรมขุนกระษัตรานุชิตกับพวกร่วมกันคิดการขบถ ไต่สวนแล้วโปรดให้ประหารชีวิตทั้งหมดในวันที่ 13 กันยายน[6]
การพระราชพิธีบรมราชาภิเษกจัดขึ้นในวันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2352 โดยย้ายมาทำพิธีที่หมู่พระที่นั่งจักรพรรดิพิมาน เนื่องจากพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาทซึ่งสร้างขึ้นแทนพระที่นั่งอมรินทราภิเษกมหาปราสาทอันเป็นสถานที่ทำพิธีปราบดาภิเษกของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชนั้นใช้เป็นสถานที่ประดิษฐานพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชอยู่ ในรัชกาลต่อ ๆ มาจึงใช้หมู่พระที่นั่งจักรพรรดิพิมานเป็นสถานที่จัดการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกและใช้พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาทเป็นสถานที่ตั้งพระบรมศพ หลังจากเสร็จพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระองค์จึงเสด็จเลียบพระนครโดยกระบวนพยุหยาตราตามโบราณราชประเพณี[7]
สวรรคต
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงพระประชวรด้วยโรคพิษไข้ ทรงไม่รู้สึกพระองค์เป็นเวลา 8 วันແມ່ແບບ:อ้างอิง พระอาการประชวรก็ได้ทรุดลงตามลำดับ และเสด็จสวรรคตเมื่อวันพุธ แรม 11 ค่ำ เดือน 8 ปีวอก ฉศก จ.ศ. 1186 ตรงกับวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367ແມ່ແບບ:อ้างอิง สิริพระชนมพรรษาได้ 56 พรรษา และครองราชย์สมบัติได้ 15 ปี พระบรมศพประดิษฐาน ณ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาทແມ່ແບບ:อ้างอิง และได้มีพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพเมื่อ พ.ศ. 2368 ณ พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวงແມ່ແບບ:อ้างอิง ต่อมาพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวได้อัญเชิญพระบรมอัฐิ ไปประดิษฐาน ณ หอพระธาตุมณเฑียร จากนั้นได้นำพระบรมราชสรีรางคารไปบรรจุไว้ใต้พระอุโบสถ วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารແມ່ແບບ:อ้างอิง
- ↑ พระราชพงษาวดาร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 2 : 2 ประวัติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 2 เมื่อก่อนเสด็จผ่านพิภพ
- ↑ พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 1 : 3. ประดิษฐานพระราชวงศ์
- ↑ พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 1 : 123. พระราชพิธีอุปราชาภิเษกเจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร
- ↑ พระราชวิจารณ์ จดหมายเหตุความทรงจำ, ข้อ 222
- ↑ พระราชพงษาวดาร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 2 : 1. สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 1 สวรรคต
- ↑ พระราชพงษาวดาร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 2 : 4. เกิดเหตุเรื่องเจ้าฟ้ากรมขุนกระษัตรานุชิต
- ↑ พระราชพงษาวดาร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 2 : 5. พระราชพิธีบรมราชาภิเศก